• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทบาทสร้างท านองสนุกสนานให้วงดนตรี

2. บทบาทและหน้าที่ของซออู้

2.1 บทบาทและหน้าที่ของซออู้ในวงดนตรี

2.1.1 บทบาทสร้างท านองสนุกสนานให้วงดนตรี

การสามารถสร้างความสนุกสนานให้กับวงดนตรีของซออู้ สามารถจ าแนก ได้ 2 ลักษณะคือ การสร้างความสนุกสนานด้วยท านอง และการสร้างความสนุกสนานด้วยจังหวะ ตัวอย่าง ท านองซออู้ที่สร้างความสนุกสนานด้วยท านอง

ท านองหลัก ด ซ ล ซ ด ท ล ซ ฟ ซ ล ซ ด ท ล ซ - ร ด ล ด ล ซ ฟ - ด - ฟ - ฟ ซ ล

ท านองซออู้ ด ซ ด ซ ด ซ ด ซ ด ซ ด ด ร ม ฟ- ด ร ม ฟ- ซ ร ม ฟ- ซ ม ฟ- ล ฟ- ซ ล

จากตัวอย่างข้างต้นพบว่า ท านองซออู้ในวรรคหน้ามีลักษณะเด่นคือ ในห้องที่

1-3 พบการใช้เสียง ด และ ซ บรรเลงสลับกันไปมาจนกระทั่งเคลื่อนที่ขึ้นไปหาลูกตกเสียง ซ (ฟ2) ในห้องที่ 4 ส่วนวรรคหลังเป็นลักษณะของกลอนไล่เสียงขึ้นไปหาลูกตกในเสียง ล (ฟ3) ซึ่งหากน าท านองซออู้ประโยคข้างต้นมาแสดงในรูปแบบกราฟจะพบลักษณะดังนี ้

ตาราง 13 ทิศทางการเคลื่อนที่ของท านองซออู้ที่แสดงความสนุกสนาน

ที่มา: ธนกร นามวงษ์. (2565). ทิศทางการเคลื่อนที่ของท านองซออู้ที่แสดงความสนุกสนาน.

จากกราฟท านองซออู้ในวรรคหน้ามีการเคลื่อนที่ในระหว่าง ด และ ซ สลับไปมา ตลอดห้องที่ 1-3 โดยหากพิจารณาเส้นแทนระดับเสียงแต่ละเส้นจะพบว่าท านองดังกล่าวมี

ลักษณะคล้ายกับการกระโดดขึ้นและลงอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี ้จากตัวอย่างการวิเคราะห์ท านองซออู้

ที่สอดคล้องกับวิธีการตีโขกในระนาดทุ้มยังชี ้ให้เห็นการกระโดดขึ้นและลงคล้ายกับตัวอย่างข้างต้น ด้วย ดังนี ้

ตัวอย่าง ท านองซออู้ในวงเครื่องสาย เพลงอกทะเล สามชั้น ท่อนที่ 1

ท านองหลัก - ม ซ ซ - ม ซ ซ - ม ซ ซ - ด ล ล - ม ซ ซ - ด ล ล - ม ซ ซ - ร ม ม

ท านองซออู้ ซ ม ซ ซ ซ ด ซ ซ ซ ม ซ ซ ซ ด ล ล ล ด ซ ซ ซ ด ล ล ล ด ร ร ร ซ ม ม

สัญลักษณ์ _ ข้างใต้โน้ตแต่ละเสียงแทนการสีเน้นเสียง

ตาราง 14 ทิศทางการเคลื่อนที่ของท านองซออู้ที่สอดคล้องกับการตีโขกของระนาดทุ้ม

ที่มา: ธนกร นามวงษ์. (2565). ทิศทางการเคลื่อนที่ของท านองซออู้ที่สอดคล้องกับการตีโขก ของระนาดทุ้ม.

ท านองซออู้ข้างต้นเป็นท านองที่สอดคล้องกับวิธีการตีโขกในระนาดทุ้ม โดยพบการสี

เน้นเสียงในพยางค์ที่ 2 ของห้องที่ 2 4 5 6 7 8 ผนวกกับในพยางค์ที่มีการสีเน้นเสียงนั้นเป็นช่วงที่

พบลักษณะของการกระโดดขึ้นหรือลงอยู่เสมอ (จากกราฟ) พยางค์ที่ 1 3 และ4 ของห้องมักจะเป็น การบรรเลงแบบซ ้าโน้ตท าให้ผู้บรรเลงมักจะบรรเลงโน้ตในพยางค์ดังกล่าวด้วยเสียงที่เบา แต่จะสี

เน้นเสียงในพยางค์ที่ 2 ทดแทน การสีเน้นเสียงจึงช่วยขับเน้นให้ท านองกระโดดขึ้นหรือลงมีความ ชัดเจนมากขึ้น

จากการวิเคราะห์ท านองซออู้ของครูเลอเกียรติ มหาวินิจฉัยมนตรี พบว่านอกจากซอ อู้จะสามารถสร้างความสนุกสนานในท านองได้แล้ว ยังสามารถใช้รูปแบบจังหวะที่แตกต่างจาก ท านองหลักในการบรรเลงเพื่อสร้างความสนุกสนานได้เช่นเดียวกัน ดังนี ้

ตัวอย่าง การใช้ลีลาท านองล่วงหน้า และล้าหลังในการแปรท านองซออู้

ท านองหลัก - - ซ ด ร ม ร ม - - ร ม ซ ล ซ ล - - ม ร ด ล ด ล - - ด ล ซ ม ซ ม

ท านองซออู้ มˇ - ซ ด ร มˆ ร ม ซฺ มˆ ร ม ซ ลˇ - - ซ ทˆ ล ท ร ม ซ ด ท ร ซ ด ท ล ซ ด

ท านองหลัก - - ม ด ร ม ร ม - - ซ ม ร ด ร ด - - ซฺ ลฺ ทฺ ด ทฺ ด - - ทฺ ด ร ม ร ม

ท านองซออู้ ล ด ซ ล ม ซ ร ซ ม ร ด ร ซ มˆ ร ด ม - ซ - ด ด ม ซ ด ม ซ ด ม ซ ด -

ท านองหลัก - - ซฺ ลฺ ทฺ ด ทฺ ด - - ทฺ ด ร ม ร ม - - ซฺ ลฺ ทฺ ด ทฺ ด - - ทฺ ด ร ม ร ม

ท านองซออู้ ม - ซ ม ซ ล ท - ด - ร ด ท ล ซ - ม - ท๋ˆ ล ซ ล ท๋ ด ท๋ ล ซ ด ร - ม -

ท านองข้างต้นเป็นท านองเหลื่อมหลังท านองล้อ-ขัดในเพลงอกทะเล สามชั้น ท่อนที่ 1 ซึ่งโดยปกติแล้วเครื่องน าและเครื่องตามจะบรรเลงท านองเดียวกันแต่เริ่มบรรเลงไม่พร้อมกัน จาก ตัวอย่างพบว่าครูเลอเกียรติ มหาวินิจฉัยมนตรีแปรท านองซออู้ในช่วงเหลื่อมด้วยการใช้ลีลาท านอง ท าให้ท านองซออู้มีรูปแบบจังหวะที่แตกต่างไปจากท านองหลักโดยสิ ้นเชิง ดังนี ้

ตาราง 15 แสดงการเปรียบเทียบรูปแบบจังหวะท านองหลักและท านองซออู้

ที่ ท านองหลัก ท านองซออู้

ตัวอย่างท านอง รูปแบบจังหวะ ตัวอย่างท านอง รูปแบบจังหวะ 1 - - ซ ด ร ม ร ม - - X X X X X X - - ซ ด ร มˆ ร ม - - X X X X X X 2 - - ร ม ซ ล ซ ล - - X X X X X X ซฺ มˆ ร ม ซ ลˇ - - X X X X X X - -

ตาราง 15 แสดงการเปรียบเทียบรูปแบบจังหวะท านองหลักและท านองซออู้ (ต่อ)

ที่ ท านองหลัก ท านองซออู้

ตัวอย่างท านอง รูปแบบจังหวะ ตัวอย่างท านอง รูปแบบจังหวะ 3 - - ม ร ด ล ด ล - - X X X X X X ซ ทˆ ล ท ร ม ซ ด X X X X X X X X 4 - - ด ล ซ ม ซ ม - - X X X X X X ท ร ซ ด ท ล ซ ด X X X X X X X X

5 - - ม ด ร ม ร ม - - X X X X X X ล ด ซ ล ม ซ ร ซ X X X X X X X X

6 - - ซ ม ร ด ร ด - - X X X X X X ม ร ด ร ซ มˆ ร ด X X X X X X X X

7 - - ซฺ ลฺ ทฺ ด ทฺ ด - - X X X X X X ม - ซ - ด ด ม ซ X – X - X X X X 8 - - ทฺ ด ร ม ร ม - - X X X X X X ด ม ซ ด ม ซ ด - X X X X X X X - 9 - - ซฺ ลฺ ทฺ ด ทฺ ด - - X X X X X X ม - ซ ม ซ ล ท - X – X X X X X - 10 - - ทฺ ด ร ม ร ม - - X X X X X X ด - ร ด ท ล ซ - X – X X X X X - 11 - - ซฺ ลฺ ทฺ ด ทฺ ด - - X X X X X X ม - ท๋ˆ ล ซ ล ท๋ ด X – X X X X X X 12 - - ทฺ ด ร ม ร ม - - X X X X X X ท๋ ล ซ ด ร - ม - X – X X X - X -

ที่มา: ธนกร นามวงษ์. (2565). การเปรียบเทียบรูปแบบจังหวะท านองหลักและท านองซออู้.

จากตารางข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ท านองหลักมีรูปแบบจังหวะเหมือนกันคือ /- - x x / x x x x/ ในขณะที่ท านองซออู้มีความแตกต่างและหลากหลายหว่าท านองหลักมาก ความหลากหลายของรูปแบบจังหวะที่ปรากฏขึ้นเป็นลักษณะของลีลาท านองซออู้ ซึ่งประกอบด้วย ลีลาท านองล่วงหน้า ลีลาท านองล้าหลัง และลีลาท านองอิหลักอิเหลื่อ โดยลีลาท านองนี ้มักปรากฏ กับเครื่องดนตรีในย่านเสียงทุ้มต ่า ได้แก่ ระนาดทุ้มและซออู้ การใช้ลีลาท านองท าให้ท านองซออู้

มีลักษณะยักเยื ้อง ไม่ตรงจังหวะ บางครั้งอาจพบท านองซออู้ซึ่งเกิดเสียงลูกตกก่อนจังหวะ หรือหลังจังหวะได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี ้ยังพบตัวอย่างการใช้ลีลาท านองอิหลักอิเหลื่อซึ่งมีวิธีการ จัดวางรูปแบบจังหวะที่แตกต่างไปจากท านองหลักด้วย ดังนี ้

ตัวอย่าง ลีลาท านองอิหลักอิเหลื่อ

ท านองหลัก - ด - ล - ซ - ฟ ฟ ฟ - ซ ซ ซ - ล - ด - ร - ด - ล ล ล - ซ ซ ซ - ฟ

ท านองซออู้ - ด - ลˇ - - ซ ฟ-ˆ ม ร ด - -ˇ - ซ - ลˇ - ด ร ด ท- ลˇ ซ - ด ร ม - ล๎ ซ ฟ-

ตาราง 16 แสดงการเปรียบเทียบรูปแบบจังหวะท านองหลักและท านองซออู้

ที่ ท านองหลัก ท านองซออู้

ตัวอย่างท านอง รูปแบบจังหวะ ตัวอย่างท านอง รูปแบบจังหวะ 1 - ด - ล - ซ - ฟ - X - X - X - X - ด - ลˇ - - ซ ฟˆ - X - X - - X X 2 ฟ ฟ - ซ ซ ซ - ล X X - X X X - X ม ร ด - ฟˇ - ซ - X X X - X – X - 3 - ด - ร - ด - ล - X - X - X - X ลˇ - ด ร ด ท- ลˇ ซ X – X X X X X X 4 ล ล - ซ ซ ซ - ฟ X X - X X X - X ฟ ด ร ม ฟ ล๎ ซ ฟ X X X X X X X X

ที่มา: ธนกร นามวงษ์. (2565). การเปรียบเทียบรูปแบบจังหวะท านองหลักและท านองซออู้.

จากตัวอย่างพบการใช้ลีลาท านองอิหลักอิเหลื่อซึ่งมีวิธีการจัดวางรูปแบบจังหวะ แตกต่างไปจากท านองหลัก โดยท านองหลักมักจะพบการใช้โน้ตในพยางค์ที่ 2 และ 4 เป็นส าคัญ เนื่องจากเป็นต าแหน่งที่มีความสัมพันธ์กับจังหวะสามัญ ซึ่งช่วยให้ผู้ที่ต้องการแปรท านองสามารถ จับจังหวะได้ง่ายเหมาะสมกับการน าไปแปรท านองต่อไป ในขณะที่การจัดวางรูปแบบท านองซออู้

โดยเฉพาะในลีลาท านองอิหลักอิเหลื่อซึ่งมีการจัดวางโน้ตในพยางค์ 1 และ 3 (ตัวอย่างล าดับที่

2-3 ในตาราง) ซึ่งเป็นการจัดวางรูปแบบจังหวะดังกล่าวไม่ได้อยู่ในต าแหน่งของจังหวะสามัญ ท าให้ท านองซออู้โดยเฉพาะช่วงที่ปรากฏลีลาท านองอิหลักอิเหลื่อมีลักษณะของความไม่มั่นคง ในจังหวะซึ่งแตกต่างกับท านองหลักซึ่งเป็นท านองที่สามารถจับจังหวะได้ง่ายกว่า

การแปรท านองซออู้โดยอาศัยโน้ตที่มีระดับเสียงแตกต่างการมาบรรเลงสลับไปมา ในวรรคเพลง หรือการสีเน้นเสียงเพื่อขับให้เสียงในพยางค์ที่ 2 ของห้องเพลงเกิดน ้าหนักที่แตกต่าง กับพยางค์ที่ 1,3 และ 4 จึงท าให้เกิดลักษณะของท านองที่กระโดดขึ้นและลงสลับไปมาอยู่ตลอด ส านวนกลอน ผนวกกับการใช้ลีลาท านองล่วงหน้า ล้าหลัง และอิหลักอิเหลื่อซึ่งมีวิธีการจัดวาง รูปแบบจังหวะที่แตกต่างไปจากท านองหลัก โดยอาจพบเสียงของลูกตกก่อน หรือหลังจังหวะ หรือ พบการจัดวางรูปแบบจังหวะที่ไม่สอดคล้องกับจังหวะสามัญ ท าให้ผู้ฟังจับจังหวะในช่วงลีลา ท านองอิเหลื่ออิเหลื่อได้ยากนี ้ ชี ้ให้เห็นชัดเจนว่าซออู้ท าหน้าที่เรียงร้อยระดับเสียงที่แตกต่างกัน เพื่อแปรท านองให้เกิดลักษณะของการกระโดดขึ้นลงอยู่เสมอ ผนวกกับการจัดวางรูปแบบจังหวะ ให้เกิดความแตกต่างจากท านองหลักโดยการใช้ลีลาท านองร่วมในการแปรท านอง ท าให้ซออู้

สามารถแสดงบทบาทการสร้างความสนุกสนานให้กับวงดนตรีได้