• Tidak ada hasil yang ditemukan

5. บทสรุปและขอเสนอแนะ 114

5.1 บทสรุป 114

กระแสการทําศัลยกรรมความงาม ทําใหคนไทยจํานวนมากสนใจไปทําศัลยกรรมที่

ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีเปนจํานวนมาก จึงทําใหมีการจัดแพ็คเกจทัวรศัลยกรรม โดยการโฆษณา ผานสื่อตางๆวาแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมนอกจากไดทองเที่ยวที่ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีแลวยังได

ความสวยงามแบบดาราเกาหลีใตกลับมาดวย จนกลายเปนธุรกิจที่กําลังเติบโตอยางมากในปจจุบัน เพราะสามารถทํากําไรไดอยางงายเพียงแคประกอบธุรกิจทองเที่ยวธรรมดาตามพระราชบัญญัติ

ธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ.2551 ไมตองลงทุนมากและโดนควบคุมเหมือนการประกอบ ธุรกิจศัลยกรรมความงามในประเทศไทย ที่ตองโดนควบคุมจากกฎหมายหลายฉบับดวยกันคือ พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 และพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 คลีนิก ศัลยกรรมตกแตงที่ดําเนินงานโดยแพทยจะถูกควบคุมโดยสมาคมทั้ง 2 แหง คือสมาคมศัลยแพทย

ตกแตงแหงประเทศไทย และสมาคมตกแตงเสริมความงามแหงประเทศไทย ในการดูแลตักเตือน เมื่อศัลยแพทยคนใดทําไมถูกตอง ขาดจรรยาบรรณที่ดี นอกจากนี้แพทยสภา กระทรวงสาธารณสุข เปนผูดําเนินการควบคุมใหเปนไปตามขั้นตอนของกฎหมายอีกทีหนึ่ง และการเปดคลีนิกยังมี

ขอกําหนดวาศัลยแพทยตกแตงตองมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ไมโฆษณาชวนเชื่อใหคนมาใช

บริการ ดังนั้นผูที่มาใชบริการจากคลีนิกศัลยกรรมตกแตงประเภทนี้ สวนใหญมาจากการบอกเลาถึง ฝมือ และความสามารถของศัลยแพทยจากผูที่มีประสบการณในการใชบริการมาแลว

จากการที่สามารถประกอบธุรกิจไดงายและไมตองอยูภายใตกฎหมายเชนเดียวกับคลีนิก ศัลยกรรมความงามในประเทศไทย ทําใหผูประกอบธุรกิจจัดแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมไมตองรับผิด ตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการทําศัลยกรรม นอกจากนี้ผูประกอบธุรกิจจัดแพ็คเกจทัวรศัลยกรรม บางรายยังไมปฎิบัติตามขอตกลงตางๆที่ใหไวกับนักทองเที่ยว จนทําใหเกิดความเสียหายตอ ผูบริโภคเปนจํานวนมาก

ปจจุบันประเทศไทยไมมีกฎหมาย และหนวยงานโดยตรงที่จะคุมครองผูบริโภคที่ใช

บริการธุรกิจแพ็คเกจทัวรศัลยกรรม จะมีเพียงกฎหมายบางฉบับที่เกี่ยวของและสามารถนํามาปรับ ใชไดบางสวน คือพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยว

115 และมัคคุเทศก พ.ศ.2551 ซึ่งกฎหมายดังกลาวยังคงมีบทบัญญัติที่ไมครอบคลุมในการคุมครอง ผูบริโภคตามบริการแพ็คเกจทัวรศัลยกรรม ในเรื่องของขอกําหนดที่ตองทําสัญญาเปยลายลักษณ

อักษร ทําใหพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่2) พ.ศ. 2541 ไมสามารถใชบังคับไดกรณีที่ผู

ประกอบธุรกิจแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมบางรายไมไดมีการจัดทําเปนสัญญาลายลักษณอักษรและสง มอบใหกับนักทองเที่ยว เนื่องจากไมมีกฎหมายกําหนดบังคับไว

พระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. 2551 แมจะเปนกฎหมายที่เกี่ยวของและ ควบคุมการประกอบธุรกิจทองเที่ยวโดยตรงแตก็ยังไมมีบทบัญญัติที่จะคุมครองนักทองเที่ยวที่เปน ผูบริโภคไดอยางมีประสิทธิภาพ แมจะมีการตั้งหนวยงานขึ้นมาควบคุมการประกอบธุรกิจ แตก็ยัง ขาดกฎเกณฑความรับผิดของผูประกอบการ การเยียวยาความเสียหายแกนักทองเที่ยวตาม

พระราชบัญญัตินี้เปนไปตามดุลยพินิจของนายทะเบียนในการกําหนดใหผูประกอบการรับผิด และ ชดใชคาเสียหาย

จึงทําใหเกิดปญหาในเรื่องการใหบริการตามตกลงและการชดใช การเยียวยาความ เสียหาย ระหวางผูประกอบการกับนักทองเที่ยว ผูเขียนไดแยกประเด็นปญหาออกเปน 3 ประเด็น หลัก ดังนี้

5.1.1 ปญหาเกี่ยวกับรูปแบบและขอกําหนดในสัญญา

ในการจัดทําธุรกิจบริการนําเที่ยวไมวาจะเปนนําเที่ยวทั่วไปหรือนําเที่ยวแบบแพ็คเกจ ทัวรศัลยกรรมจะมีทั้งรูปแบบของการทําขอสัญญาที่เปนลายลักษณอักษรและไมเปนลายลักษณ

อักษร ซึ่งในปจจุบันพบวาผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวมีอิสระเสรีภาพในการกําหนดลักษณะเงื่อนไข นําเที่ยวฝายเดียว ในขณะที่นักทองเที่ยวซึ่งเปนผูเขารับบริการไมสามารถเสนอแนะหรือกําหนด ขอกําหนดตางๆได จึงทําใหเกิดความไมเปนธรรมกับนักทองเที่ยวเปนอยางมาก และจากสภาพ สังคมในปจจุบันผูประกอบธุรกิจทองเที่ยวอาศัยอํานาจการตอรองทางการคา ฐานะทางเศรษฐกิจ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางในกิจการที่เหนือกวานักทองเที่ยวซึ่งมีฐานะเปนผูบริโภค ทําใหการทํา ขอตกลงหรือถามีการทําสัญญากับนักทองเที่ยวในลักษณะที่เอาเปรียบนักทองเที่ยวซึ่งเปนผูบริโภค ซึ่งผูประกอบการนําเที่ยวมักจะอางความชอบธรรมในการกําหนดขอสัญญาดังกลาว โดยอาศัยหลัก เสรีภาพในการทําสัญญาและหลักความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนา

ธุรกิจนําเที่ยวแบบแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมเปนธุรกิจใหบริการที่นักทองเที่ยวจะตองตกลง ถึงขอกําหนดของการใชบริการแพคเกจทัวรนี้วาจะมีขอกําหนดประการใดบางและจะตองมีการ ชําระคาบริการใหครบถวนกอนที่จะเดินทาง ทําใหเกิดความไมแนนอนวานักทองเที่ยวจะไดรับการ บริการตามขอตกลงหรือขอสัญญาหรือไม

116 ในสหราชอาณาจักรตาม Package Travel, Package Holidays and Package Tours

Regulations 1992 มีหลักการ คือ การกําหนดใหสัญญานําเที่ยวแบบแพ็คเกจทัวรจะตองทําสัญญา เปนลายลักษณอักษร มีขอความที่เปนขอมูลและขอสัญญาตามที่กฎหมายกําหนดเปนอยางนอย และ จะตองสงมอบสําเนาสัญญาใหแกนักทองเที่ยว

ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ไดมีระบุไวใน TOURISM PROMOTION ACT NO.5654, JAN 21,1999 มาตรา 13-2 วาเมื่อตัวแทนเดินทางทองเที่ยวไดทําสัญญากับนักทองเที่ยวจะตองสง สัญญาดังกลาวซึ่งมีรายละเอียดที่เกี่ยวของกับการบริการทัวรใหกับนักทองเที่ยวแตละคน รวมถึง ขอความที่เปนลายลักษณอักษรที่ประกอบสัญญา

สําหรับในประเทศไทยในทางปฏิบัติผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวทุกประเภทกับนักทองเที่ยว จะไมมีการทําสัญญาเปนลายลักษณอักษร และพระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ.

2551 ก็ไมมีบทบัญญัติใดที่กําหนดใหการทําสัญญานําเที่ยวแบบแพ็คเกจทัวรทุกประเภทจะตองทํา เปนลายลักษณอักษร และมีขอมูลตามที่กฎหมายกําหนดรวมถึงไมมีการกําหนดใหสงมอบสําเนา สัญญาใหแกนักทองเที่ยว ซึ่งอาจทําใหนักทองเที่ยวไมไดรับการบริการตามขอตกลงโดยวิธีอื่นใดที่

ไมใชการทําสัญญา ทําใหนักทองเที่ยวไมมีหลักฐานเพียงพอที่จะเรียกใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว รับผิดชอบ อีกทั้งการที่ไมมีการทําสัญญาเปนลายลักษณอักษรและสงมอบยังเปนปญหาในการ ฟองรองดําเนินคดีความหากเกิดความสียหายขึ้นเนื่องจากผูประกอบธุรกิจไมปฎิบัติตามขอตกลง

นอกจากนั้นพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่2) พ.ศ. 2541 กําหนดใหสัญญาที่คณะกรรมการวาดวย สัญญามีอํานาจเขาไปควบคุมไดนั้นจะตองเปนสัญญาที่มีกฎหมายกําหนดใหตองทําเปนหนังสือ หรือที่ตามปกติประเพณีทําเปนหนังสือ เมื่อพิจารณาจากสัญญาแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมซึ่งเปนสวน หนึ่งของการทองเที่ยวเชิงการแพทยที่มีลักษณะการจัดการทองเที่ยวแบบแพ็คเกจเชนเดียวกันแลว พบวา สัญญาแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมไมไดมีกฎหมายกําหนดใหตองทําเปนหนังสือ หรือปกติ

ประเพณีตองทําเปนหนังสือแตประการใด ดังนั้นในสวนที่วาดวยการคุมครองผูบริโภคจากการทํา สัญญาจึงไมสามารถคุมครองผูบริโภคจากการใชบริการแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมได

5.1.2 ปญหาเกี่ยวกับความเสียหายในทางละเมิดและความรับผิดของผูประกอบการ ปญหาการชดใชคาเสียหายใหแกนักทองเที่ยวมักเกิดขึ้นในหลายกรณี ซึ่งการที่

นักทองเที่ยวจะไดรับการชดเชยความเสียหายตางๆที่เกิดขึ้นนั้นก็ตอเมื่อนายทะเบียนตาม

พระราชบัญญัติธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. 2551 ไดดําเนินการสอบสวนหาขอเท็จจริงและมี

คําวินิจฉัยเสียกอน ดังนั้นการที่ผูเสียหายจะไดรับการชดเชยคาเสียหายตางๆนั้นจะตองเปนไปตาม ขั้นตอนที่กฎหมายกําหนดไวซึ่งจะตองใชระยะเวลาพอสมควร อีกทั้งการที่จะไดรับคาชดเชยความ

117 เสียหายนั้นก็ตองรอผลการสอบสวนขอเท็จจริงเสียกอนซึ่งอาจจะทําใหการเยียวยาความเสียหายไม

ทันการ ปญหาเรื่องความเสียหายในทางละเมิดของผูใชบริการแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมนั้นเกิดจาก การที่ผูประกอบการบางรายไมฎิบัติตามขอตกลงที่ไดทําการโฆษณาประชาสัมพันธไว เชน โฆษณา วาจะไดรับการรักษาจากศัลยแพทยที่มีความเชี่ยวชาญ และพักในโรงแรมระดับหาดาว มีบริการดูแล จากผูเชี่ยวชาญดานศัลยกรรมหลังผาตัด แตในทางปฎิบัติไมไดเปนเชนนั้นอาจจะไดรับการรักษษ จากศัลยแพทยโดยตรงแตการพักฟนหลังการผาตัดอาจจะไมไดเปนไปตามขอตกลงคือจัดใหพัก โรงแรมที่ไมสะอาด ไมมีผูเชี่ยวชาญดูแลหลังผาตัดซึ่งอาจจะเปนผลใหแผลที่ไดรับการศัลยกรรมมา เกิดการติดเชื้ออันอาจทําใหเกิดความเสียหายตอรางกายในสวนนั้นได เนื่องจากการใชบริการ แพ็คเกจทัวรศัลยกรรมเปนความเสียหายที่เกิดตอ ชีวิต รางกาย โดยตรง จึงจําเปนที่ผูที่ไดรับความ เสียหายจะตองไดรับการเยียวยาอยางรวดเร็วและตอเนื่องเพื่อใหผูเสียหายไดกลับคืนสูสภาพเดิมให

ไดมากที่สุด

การนําเที่ยวแบบแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมนั้นนักทองเที่ยวจะไมไดทําขอตกลงกับผู

ใหบริการทั้งหลาย ไมวาจะเปนสายการบิน โรงแรมที่พัก ตลอดจนโรงพยาบาลและศัลยแพทย

ผูเชี่ยวชาญโดยตรง ดังนั้นนักทองเที่ยวจะไมทราบเลยวาผูประกอบธุรกิจไดตกลงทําสัญญากับผู

ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของอยางไรบาง หากผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวแบบแพ็คเกจทัวรทําสัญญากับผู

ประกอบธุรกิจราบอื่นใหบริการที่ตํ่ากวาที่สัญญาไวกับนักทองเที่ยว นอกจากนี้หากความเสียหาย จากการไมปฎิบัติใหถูกตองตามที่ไดตกลงกันไวไมไดเกิดจากการกระทําของผูประกอบธุรกิจนํา เที่ยวโดยตรง แตเกิดจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวของกับสัญญานําเที่ยวแบบแพ็คเกจทัวรศัลยกรรม ในการ ฟองรองดําเนินคดีระหวางนักทองเที่ยวกับผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวแบบแพ็คเกจทัวร นักทองเที่ยว ยอมมีภาระการพิสูจนความผิดของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวแบบแพ็คเกจทัวรตามปญหาขางตน

ในสหราชอาณาจักรไดบัญญัติหลักเกณฑความรับผิดของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวขึ้น Package Travel, Package Holidays and Package Tours Regulations 1992 มาตรา 15(1) กําหนดให

ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวมีความรับผิดชอบตามที่กําหนดไวในกฎหมาย โดยผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว ตองมีหนาที่การจัดบริการที่เหมาะสมตามหนาที่ที่เกิดขึ้น ตามสัญญา หากมีการไมปฎิบัติหรือ ปฎิบัติไมถูกตองขึ้นไมวาเกิดจากการกระทําของผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวเอง หรือผูประกอบธุรกิจ อื่นที่เกี่ยวของในแพ็คเกจทัวรศัลยกรรมนี้ จะตองรับผิดตอนักทองเที่ยว แตผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว มีสิทธิไลเบี้ยจากผูกอใหเกิดความเสียหายไดและกฎหมายยังบัญญัติขอยกเวนความรับผิดของผู

ประกอบธุรกิจนําเที่ยวบางประการเพื่อไมสรางภาระใหแกผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวมากเกินควร อาทิเชนความเสียหายที่เกิดขึ้นเปนเหตุมาจากความผิดของนักทองเที่ยวเอง หรือเปนความผิดของ บุคคลภายนอกที่ไมมีความเกี่ยวของกับสัญญา หรือเปนเหตุการณที่ไมสามารถคาดหมายไดหรือ