• Tidak ada hasil yang ditemukan

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ

3.1 กฎหมายตางประเทศที่เกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคตามสัญญาแพ็คเกจทัวร 43

3.2.2 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ

คุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541

กฎหมายคุมครองผูบริโภคของประเทศไทยนั้นมีทั้งกฎหมายที่มีวัตถุประสงคในการ คุมครองผูบริโภคโดยตรง และเปนกฎหมายที่ไมไดมีวัตถุประสงคในการคุมครองผูบริโภคโดยตรง แตมีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมหรือกํากับดูแลการประกอบธุรกิจบางประเภท

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคเปนกฎหมายกลางที่ใชในการคุมครองผูบริโภคที่ถูก ละเมิดสิทธิเปนการทั่วไป พระราชบัญญัตินี้อาศัยกลไกการคุมครองผูบริโภคผานทางองคกรของรัฐ ที่เรียกวา "คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค" ซึ่งจะออกประกาศ หรือกําหนดมาตรการในการ ควบคุมดูแลผูประกอบการไมใหละเมิดสิทธิผูบริโภค นอกจากนี้ยังมีบทบัญญัติในสวนที่เปน

44 เสาวภาคย วัลยมาลี. อางแลวเชิงอรรถที่ 9. หนา 132.

88 กฎหมายสาระบัญญัติในการคุมครองผูบริโภคเปนการเฉพาะเปนเรื่องๆ ไดแก การคุมครอง

ผูบริโภคดานการโฆษณา ฉลาก และสัญญา ซึ่งบทบัญญัติดังกลาวจะบัญญัติถึงหนาที่ของ ผูประกอบการ และความรับผิดของผูประกอบการที่ละเมิดสิทธิของผูบริโภคไว อีกทั้งยังกําหนด กลไกในการเยียวยาความเสียหายใหแกผูบริโภคไมวาจะเปนการดําเนินคดีแทนผูบริโภคโดย สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค หรือโดยสมาคมที่ไดรับการรับรอง

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 เปนกฎหมายที่มีหลักเกณฑเกี่ยวกับการ คุมครองผูบริโภคที่อาจไดรับความเดือดรอนหรือไดรับความไมเปนธรรมจากการเขารับบริการนํา เที่ยวและบริการตางๆ จะเห็นไดจากเหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้วา45 “เนื่องจาก ปจจุบันนี้การเสนอสินคาและบริการตาง ๆ ตอประชาชนนับวันแตจะเพิ่มมากขึ้นผูประกอบธุรกิจ การคาและผูที่ประกอบธุรกิจโฆษณาไดนําวิชาการในทางการตลาดและทางการโฆษณามาใชใน การสงเสริมการขายสินคาและบริการ ซึ่งการกระทําดังกลาวทําใหผูบริโภคตกอยูในฐานะที่

เสียเปรียบ เพราะผูบริโภคไมอยูในฐานะที่ทราบภาวะตลาด และความจริงที่เกี่ยวกับคุณภาพและ ราคาของสินคาและบริการตางๆ ไดอยางถูกตองทันทวงที นอกจากนั้นในบางกรณีแมจะมีกฎหมาย ใหความคุมครองสิทธิของผูบริโภคโดยการกําหนดคุณภาพและราคาของสินคาและบริการอยูแลวก็

ตาม แตการที่ผูบริโภคแตละรายจะไปฟองรองดําเนินคดีกับผูประกอบธุรกิจการคาหรือผูประกอบ ธุรกิจโฆษณาเมื่อมีการละเมิดสิทธิของผูบริโภค ยอมจะเสียเวลาและคาใชจายเปนการไมคุมคา และ ผูบริโภคจํานวนมากไมอยูในฐานะที่จะสละเวลาและเสียคาใชจายในการดําเนินคดีได และในบาง กรณีก็ไมอาจระงับหรือยับยั้งการกระทําที่จะเกิดความเสียหายแกผูบริโภคไดทันทวงที สมควรมี

กฎหมายใหความคุมครองสิทธิของผูบริโภคเปนการทั่วไป โดยกําหนดหนาที่ของผูประกอบธุรกิจ การคาและผูประกอบธุรกิจโฆษณาตอผูบริโภค เพื่อใหความเปนธรรมตามสมควรแกผูบริโภค ตลอดจนจัดใหมีองคกรของรัฐที่เหมาะสมเพื่อตรวจตรา ดูแล และประสานงานการปฏิบัติงานของ สวนราชการตาง ๆ ในการใหความคุมครองผูบริโภค ”

ความหมายของผูบริโภคตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 3 กอนที่

จะมีการแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541ไดใหคํานิยามคํา วาผูบริโภคหมายความวา ผูซื้อสินคาหรือไดรับการบริการจากผูประกอบธุรกิจ หรือผูซึ่งไดรับการ เสนอหรือการชักชวนจากผูประกอบธุรกิจเพื่อใหซื้อสินคาหรือรับบริการ ซึ่งจํากัดแตเฉพาะผูที่ตอง เสียคาตอบแทนเทานั้นหรือเปนคูกรณีที่ผูกพันกันตามหลักนิติกรรมสัญญา ดังนั้นบุคคลที่มิใช

คูสัญญาหรือเสียคาตอบแทนจากการใชสินคาหรือบริการยอมไมอยูในความหมายของคําวา

45 หมายเหตุทายพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522.

89 ผูบริโภคตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค ตอมาเมื่อป พ.ศ.2541 จึงไดมีการแกไขคํานิยามของ คําวาผูบริโภคเสียใหม โดยใหหมายความรวมถึงผูใชสินคาหรือผูไดรับบริการจากผูประกอบธุรกิจ โดยชอบ แมจะมิไดเสียคาตอบแทนก็ตาม ดังนั้นหลังจากมีการแกไขนิยามใหมแลว ผูบริโภคจึงมี

ความหมายวาผูซื้อสินคาหรือไดรับบริการจากผูประกอบธุรกิจหรือ ผูซึ่งไดรับการเสนอหรือการ ชักชวนจากผูประกอบธุรกิจเพื่อใหซื้อสินคาหรือรับบริการ และหมายความรวมถึงผูใชสินคาหรือผู

ไดรับบริการจากผูประกอบธุรกิจโดยชอบ46

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ไดรางขึ้นโดยมีวัตถุประสงคหลัก 2 ประการ47คือ เรื่องการโฆษณา และฉลาก ตอมาไดมีการแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครอง ผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ไดมีการบัญญัติใหมีการคุมครองผูบริโภคเพิ่มเติมในดานสัญญาดวย แมกฎหมายฉบับนี้จะไมเกี่ยวกับการทองเที่ยวโดยตรง แตดวยวานักทองเที่ยวเปนผูเขารับบริการ โดยมีประเด็นตางๆที่เกี่ยวกับมาตรการในการคุมครองสิทธิของนักทองเที่ยวในฐานะของผูบริโภค ดังนี้

ผูบริโภค และสิทธิของผูบริโภค

ผูบริโภคที่ไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัตินี้กฎหมายกําหนดไวคือ ผูซื้อหรือผู

ไดรับบริการจากผูประกอบธุรกิจหรือผูซึ่งไดรับการเสนอหรือการชักชวนจากผูประกอบธุรกิจ เพื่อใหซื้อสินคาหรือรับบริการ และหมายความรวมถึงผูใชสินคาหรือผูไดรับบริการจากผูประกอบ ธุรกิจโดยชอบ แมมิไดเปนผูเสียคาตอบแทนก็ตาม ดังนั้นผูบริโภคตามความหายของกฎหมายถึงมี

ความหมายรวมไปถึงผูบริโภคคนสุดทาย (Ultimate Consumer) ที่ไมเปนคูสัญญากับผูประกอบ ธุรกิจโดยตรงดวยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค ยังไดกําหนดสิทธิของผูบริโภคไวในมาตรา 4 คือ

1. สิทธิที่จะไดรับขาวสารรวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพที่ถูกตองและเพียงพอเกี่ยวกับ สินคาหรือบริการ

2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกสินคาหรือบริการ

3. สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ 4. สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา

5. สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย

46 ณัฐนันท วงศปญญา. (2554). ปญหาขอกฎหมายเกี่ยวกับการฟองคดีผูบริโภค. วิทยานิพนธนิติศาสตร

มหาบัณฑิต. คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. หนา 10.

47 ธีระรัตน จีระวัฒนา. อางแลวเชิงอรรถที่ 1. หนา 41-42.

90 ประเด็นสําคัญตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคที่เกี่ยวของกับการคุมครอง

ผูบริโภคตามสัญญาแพ็คเกจทัวรคือ ประเด็นเรื่องการคุมครองผูบริโภคดานโฆษณา และดานสัญญา ดังตอไปนี้

การคุมครองผูบริโภคดานโฆษณา48

การโฆษณาเปนขั้นตอนหนึ่งของการประกอบธุรกิจที่ผูประกอบธุรกิจจะใชวิธีการตางๆ สื่อสารกับผูบริโภคเพื่อใหผูบริโภคตัดสินใจเขาซื้อสินคา หรือบริการของตน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ธุรกิจแพ็คเกจทัวรที่มีความจําเปนที่จะตองอาศัยการโฆษณาเปนอยางมาก เนื่องจากไมสามารถ แสดงตัวอยางสินคา หรือบริการไดเชนเดียวกับธุรกิจขายสินคาธรรมดา อยางไรก็ตามการโฆษณา แมจะเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารเพื่อใหเกิดความเขาใจในตัวสินคา หรือบริการ ระหวางผู

ประกอบธุรกิจกับผูบริโภคก็ตาม แตผูประกอบธุรกิจมักจะใชเทคนิคตางๆเพื่อโนมนาวใหผูบริโภค เขาทําสัญญา หรือซื้อสินคา หรือบริการจากตน เมื่อผูประกอบธุรกิจเริ่มใชกลยุทธในการโฆษณา มากขึ้น แนวโนมที่การโฆษณาเหลานั้นจะกอใหเกิดการละเมิดสิทธิของผูบริโภคก็สูงขึ้นดวย เชนกัน

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 จึงไดกําหนดใหการโฆษณาจะตองไมใช

ขอความที่เปนการไมเปนธรรมตอผูบริโภคหรือใชขอความที่อาจกอใหเกิดผลเสียตอสังคมเปน สวนรวม ทั้งนี้ไมวาขอความดังกลาวนั้นจะเปนขอความที่เกี่ยวกับแหลงกําเนิด สภาพ คุณภาพ หรือ ลักษณะของสินคาหรือบริการตลอดจนการสงมอบ การจัดหา หรือการใชสินคาหรือบริการ โดย ขอความตอไปนี้ ถือวาเปนการไมเปนธรรมตอผูบริโภค หรือเปนขอความที่อาจกอใหเกิดผลเสียตอ สังคมเปนสวนรวม49

1. ขอความที่เปนเท็จหรือเกินความจริง เวนแตเปนขอความที่บุคคลทั่วไปสามารถรูได

วาเปนขอความที่ไมอาจเปนจริงไดโดยแนแท

2. ขอความที่จะกอใหเกิดความเขาใจผิดในสาระสําคัญเกี่ยวกับสินคา หรือบริการไม

วาจะกระทําโดยใชหรืออางอิงรายงานทางวิชาการสถิติหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอันไมเปนความจริงหรือ เกินความจริงหรือไม

3. ขอความที่เปนการสนับสนุนโดยตรงหรือโดยออมใหมีการกระทําผิดกฎหมายหรือ ศีลธรรม หรือนําไปสูความเสื่อมเสียในวัฒนธรรมของชาติ

4. ขอความที่จะทําใหเกิดความแตกแยก หรือเสื่อมเสียความสามัคคีในหมูประชาชน

48 สืบสิริ ทวีผล. อางแลวเชิงอรรถที่ 2. หนา 52-53.

49 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522. มาตรา 22.

91 5. ขอความอยางอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

การดําเนินการคุมครองผูบริโภคดานโฆษณา พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ไดดําเนินการโดยอาศัยกลไกของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คือคณะกรรมการวาดวยการโฆษณา50 เขามามีบทบาทในการควบคุม และดําเนินการแกผูประกอบธุรกิจที่ใชขอความที่เปนการไมเปน ธรรมตอผูบริโภค หรือใชขอความที่อาจกอใหเกิดผลเสียตอสังคมเปนสวนรวม ในกรณีที่

คณะกรรมการวาดวยการโฆษณาเห็นวาสินคาหรือบริการใดผูบริโภคจําเปนตองทราบขอเท็จจริง เกี่ยวกับสถานะภาพฐานะ และรายละเอียดอยางอื่นเกี่ยวกับผูประกอบธุรกิจดวยคณะกรรมการวา ดวยการโฆษณามีอํานาจกําหนดใหการโฆษณาสินคา หรือบริการนั้นตองใหขอเท็จจริงดังกลาว ตามที่คณะกรรมการวาดวยการโฆษณากําหนดได51หรือในกรณีที่คณะกรรมการวาดวยการโฆษณา เห็นวาขอความในการโฆษณาโดยทางสื่อโฆษณาใดสมควรแจงใหผูบริโภคทราบวาขอความนั้น เปนขอความที่มีความมุงหมายเพื่อการโฆษณา คณะกรรมการวาดวยการโฆษณามีอํานาจกําหนดให

การโฆษณาโดยทางสื่อโฆษณานั้นตองมีถอยคําชี้แจงกับใหประชาชนทราบวาขอความดังกลาวเปน การโฆษณาได และมาตรา 2652 ของพระราชบัญญัตินี้จะกําหนดวาในการโฆษณาหรือชี้ชวน เกี่ยวกับรายการนําเที่ยว ใหผูประกอบธุรกิจนําเที่ยวจัดทําเปนเอกสารซึ่งอยางนอยตองมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

(1) ชื่อผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว และสถานที่และเลขที่ใบอนุญาตประกอบธุรกิจนําเที่ยว (2) ระยะเวลาที่ใชในการนําเที่ยว

(3) คาบริการและวิธีการชําระคาบริการ

(4) ลักษณะและประเภทของยานพาหนะที่ใชในการเดินทาง

(5) จุดหมายปลายทางและที่แวะพัก รวมทั้งสถานที่สําคัญในการนําเที่ยว (6) ลักษณะและประเภทของที่พัก และจํานวนครั้งของอาหารที่จัดให

(7) จํานวนมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยวในกรณีที่จัดใหมีมัคคุเทศกหรือผูนําเที่ยว (8) จํานวนขั้นต่ําของนักทองเที่ยวสําหรับการนําเที่ยว ในกรณีมีเงื่อนไขวาตองมี

นักทองเที่ยว

ไมนอยกวาจํานวนที่กําหนด

50 พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522. มาตรา 14.

51 เรื่องเดียวกัน. มาตรา 25.

52 เรื่องเดียวกัน. มาตรา 26.