• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

2. บุคลากรสามารถน าเสนอ, โต้ตอบโน้มน้าว แสดงให้

ถึงความจ าเป็นของงานนั้น ได้อย่างน้อยสาขาละ 1 คน เครื่องมือวัด : แบบประเมินความสามารถในการสื่อสารและน าเสนอผลิตภัณฑ์ของบุคลากร 3. บุคลากรสามารถ น าเสนองานหรือ

โครงการแก ่ลูกค้าที่เป็นคนต่างประเทศได้

1. บุคลากรสามารถน าเสนองานหรือโครงการแก ่ลูกค้า ที่เป็นคนต่างประเทศให้เข้าใจได้ครบทุกคนในสาขา 2. บุคลากรสามารถเขียนหรือน าเสนอโครงการ รวมทั้ง โต้ตอบแก ่ลูกค้าที่เป็นคนต่างประเทศให้เข้าใจอย่าง น้อยสาขาละ 1 คน

ตารางที่ 4.13 (ต่อ)

เครื่องมือวัด : แบบประเมินความสามารถในการน าเสนอโครงการและการเขียนโครงการแก ่ชาวต่างชาติ

โครงการพัฒนา : โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษากลุ่มประเทศ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช้รูปแบบการสร้างแรงจูงใจและกระตุ้นให้เกิดความอยากเรียนรู้ด้วยตนเอง

จัดหน่วยงานที่รับผิดชอบ กระตุ้นให้เกิดความอยากในการเรียน รู้เช ่น การก าหนด คุณสมบัติบุคลากรให้มีความรู้ด้านภาษาในลักษณะใบอนุญาตวิชาชีพ จัดมาตรฐานด้านภาษา ก าหนดให้ภาษากลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นภาษาที่สอง ให้ความส าคัญกับด้าน ภาษาในการคัดเลือกบุคลากรเข้าท างาน

กิจกรรมในการพัฒนา : 1. การฝึกอบรมในห้องเรียน 2. การอบรมในขณะปฏิบัติการ 3. การ เรียนรู้ด้วยตนเอง

กลยุทธ์ที่ 2 กลยุทธ์การพัฒนาด้านความรู้ที่เกี่ยวกับกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การรวมตัวกันเป็นกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ท าให้ชาวต่างชาติทั้งนักท่องเที่ยวและ นักธุรกิจ เข้ามาประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ บุคลากรธนาคารจึงต้องมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในด้านต่าง ๆ เช ่น ด้านประวัติศาสตร์ ด้านภูมิศาสตร์ ด้านสังคม วัฒนธรรม ด้านการเมืองการปกครอง มีความเข้าใจในกฎระเบียบกฎหมายในแต่ละประเทศ รวมทั้ง ความรู้ด้านเศรษฐกิจและระบบงานเทคโนโลยีที่ส าคัญของแต่ละประเทศในกลุ่มประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ปัจจุบันธนาคารมีคู่แข่งใหม่ ๆ ที่นอกเหนือจากธนาคารพาณิชย์ด้วยกันเข้ามา แข่งขันเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่บุคลากรของธนาคารพาณิชย์ไทยยังไม่มีความรู้ที่เกี่ยวกับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน เพียงพอที่จะให้บริการชาวต่างช าติได้ บุคลากรธนาคารนอกจากจะมีความรู้

ความสามารถเข้าใจในระบบธนาคารเป็นอย่างดีแล้ว ยังต้องทันต่อความต้องการและพฤติกรรมของ ลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป และรูปแบบธุรกรรมทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีที่

เปลี่ยนแปลงไปด้วย อีกทั้งเพื่อจะได้ทราบความต้องการที่แท้จริงของคนในแต่ละประเทศ เพื่อจะได้

ให้บริการได้อย่างเหมาะสม จึงได้น ากลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านความรู้ที่เกี่ยวกับ กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ซึ่งความความรู้เกี่ยวกับ กลุ่ม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่ได้จากการวิจัยได้แก ่ 1) ความรู้ในด้านเศรษฐกิจ 2) ความรู้ใน สังคมวัฒนธรรมกฎหมาย 3) ความรู้ด้านเทคโนโลยีและระบบงาน ดังนี้

1. ความรู้ด้านเศรษฐกิจ ประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ มี

การรวมตัวกันในด้านต่าง ๆ แต่ละประเทศมีความเป็นมาหรือมีพื้นฐานที่ต่างกันทั้งด้านการเมือง

สังคมและวัฒนธรรม ก็อาจส่งผลต่อการด าเนินการทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันออกไป เช ่นกลุ่ม ประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ได้แก ่ เมียนมาร์ สิงคโปร์ มาเลเซีย มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ที่แตกต่างจากกลุ่มประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส กลุ่มประเทศที่ใช้ระบบการปกครอง แบบประชาธิปไตย จะมีเศรษฐกิจที่ค่อนข้างไปในทางทุนนิยม ใช้กลไกราคาเป็นตัวขับเคลื่อน เศรษฐกิจ เอกชนมีเสรีภาพ มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่อีกกลุ่มหนึ่งใช้ระบบการปกครองแบบ คอมมิวนิสต์ จะมีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ที่รัฐเป็นผู้ก าหนดกิจกรรมและกลไกการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เอกชนถูกจ ากัดทั้งเสรีภาพ และกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ภายหลังประเทศเหล่านี้

ได้มีการปรับระบบเศรษฐกิจที่ให้เอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ เข้ามาเป็นเจ้าของได้ และ ด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ ประเทศเหล่านี้ได้แก ่ ลาว กัมพูชา เวียดนาม การที่ประเทศในกลุ่ม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีความเป็นมาทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันในช ่วงที่ผ่านมา จะมีผลต่อ เศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศนั้น ๆ ด้วย ลักษณะทั่วไปและโครงสร้างเศรษฐกิจ รวมทั้งการน า สินค้าเข้า สินค้าออก การเติบโตทางเศรษฐกิจ เสรีภาพทางเศรษฐกิจ ความยากจนและการกระจาย รายได้ ความแตกต่างเหล่านี้เป็นความยกล าบากในการเข้ากันได้ แต่บุคลากรธนาคารสามารถศึกษา ให้เข้าใจพื้นฐานที่มาและภาพรวมทางเศรษฐกิจโดยรวมของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ได้

2. ด้านความรู้ด้านสังคมวัฒนธรรมและกฎหมายกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การ รวมกลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อให้ประชากรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เพื่อให้เป็น ชุมชนที่มีความแข็งแกร่ง มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่กลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน มีความแตกต่างกันด้านสังคมวัฒนธรรม มีความหลากหลายทางเชื้อชาติศาสนา สภาพ ภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง มีความแตกต่างทางความเชื่อวิถีชีวิตภาษาขนบธรรมเนียมประเพณี

วัฒนธรรม การรวมกลุ่มความร่วมมือของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ด้านสังคมวัฒนธรรมก็เพื่อ สังคมที่เอื้ออาทร แก้ปัญหาผลกระทบต่อสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ การจัดการ ดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง ส่งเสริมความเข้าใจของประชาชนรวมถึงการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรม การรับรู้ข่าวสารเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงเอกลักษณ์อาเซียน โดยมีแผนงานการด้าน สังคมวัฒนธรรมอาเซียน 6 ด้าน ได้แก ่ 1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2) การคุ้มครองและสวัสดิการ สังคม 3) สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม 4) ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม 5) การสร้างอัตลักษณ์

อาเซียน 6) การลดช ่องว ่างการพัฒนา ระบบกฎหมายของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เริ่มจาก ความร่วมมือทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม เป็นองค์กรระหว ่างประเทศ “กฎบัตร อาเซียน”ให้สมาชิกท าตามภายใต้กฎบัตรและพันธกรณีอื่นที่สมาชิกมีอยู่ตามกฎหมายอาเซียนและ กฎหมายระหว ่างประเทศ โดยใช้กลไกปรึกษาหารือ ฉันทามติ และมติชี้ขาดของที่ประชุมสุดยอด อาเซียน หลักการพื้นฐานและกฎเกณฑ์ทางกฎหมายที่ส าคัญของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ได้แก ่ 1) หลักการพื้นฐานทางกฎหมาย 2) การเปิดเสรีการค้าทางการเงินและการลงทุน 3) ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช ่น (Asean+3, Asean+6,

Asean กับคู่เจรจาอื่น)

ในส่วนภายในของประเทศไทยมีข้อตกลงด้านกฎหมาย กฎระเบียบเพิ่มขึ้นมากมาย เพื่อลดข้อจ ากัดอุปสรรคในการแข่งขัน และอุปสรรคในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช ่น พ.ร.บ.คนต่างด้าว พ.ร.บ.เกี่ยวกับการท่องเที่ยว โรงเรียนเอกชน แรงงานและการส่งเสริมการพัฒนา ฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับปัญหาที่จะเกิดขึ้น เช่น ปัญหาคนเข้าเมืองผิดกฎหมาย อาชญากรรมข้ามชาติ

ยาเสพติด การค้ามนุษย์ การฟอกเงิน อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาเป็นต้น เป็นความร่วมมือระหว ่างประเทศ และข้อตกลงระหว ่างประเทศทั้งแบบทวิภาคีและพหุภาคี รวมทั้ง การท าเป็นสนธิสัญญาอาเซียนต่าง ๆ แต่ด้วยกฎระเบียบต่าง ๆ มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา จึง ควรให้พัฒนาบุคลากรให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด

วัฒนธรรมองค์กรมีความส าคัญต่อการก าหนดทัศนคติและพฤติกรรมของมนุษย์ใน องค์กร ท าให้องค์กรมีเอกลักษณ์ของตนเองต่างไปจากองค์กรอื่น ส่งผลต่อประสิทธิผล ก ่อให้เกิด ความผูกพันและการมีส่วนร่วมในองค์กร มีการปรับตัวที่เหมาะสม ท าให้เกิดการประสานงานกัน องค์กรมีกรอบและทิศทางที่ชัดเจน มีกลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมที่เข้มแข็งประกอบด้วย 1) ผู้ก ่อตั้ง หรือผู้น าจะต้องเป็นบุคคลที่มีความสามารถสร้างศรัทธา 2) การให้ความส าคัญกับระบบการให้

รางวัลเชื่อมโยงเข้ากับการปฏิบัติ 3) ต้องมีการกระท าอย่างต่อเนื่องสื่อสารและเสริมแรงให้เกิดความ เชื่อและค่านิยมร่วม 4) การสร้างการเรียนรู้และถ่ายโอน โดยเริ่มจากจุดเล็ก ๆ ก ่อนขยายกว้าง ออกไป ท าให้สมาชิกเกิดการเรียนรู้รับรู้ เกิดการเลียนแบบค่านิยมความเชื่อสู่กันและกันจนเกิด วัฒนธรรมองค์กรในภาพรวม 5) การคัดเลือกสมาชิกใหม่หรือพนักงานใหม่ต้องให้มีความเหมาะสม 6) มีค่านิยมความเชื่อวัฒนธรรมที่ใกล้เคียงกับองค์กรมากที่สุด แล้วน ามาถ่ายทอดหล่อหลอมให้

ทราบถึงวัฒนธรรมที่แท้จริงขององค์กร 7) มีการจัดสรรแบ่งอ านาจสถานภาพสมาชิกให้ชัดเจน เพื่อให้เกิดความเป็นน ้าหนึ่งใจเดียวกัน 8) มีการให้รางวัลและการลงโทษ มีการจูงใจให้ท างานอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

เหตุที่ต้องเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอาจเกิดจาก วิกฤตหรือเจอปัญหาใหญ่ มีการ เปลี่ยนตัวผู้น าระดับสูง การควบกิจการ การมีวัฒนธรรมที่อ่อนแอ ส าหรับแนวทางการเปลี่ยนแปลง ควรเริ่มจากการวิเคราะห์สภาพวัฒนธรรม ท าความเข้าใจพนักงาน แต่งตั้งผู้น าที่มีวิสัยทัศน์ใหม่ ๆ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรให้เหมาะสม เช ่น การคัดเลือก การเรียนรู้ทางสังคม การประเมินผล และระบบรางวัลจูงใจที่จะช ่วยให้สนับสนุนค่านิยมปรัชญาใหม่ ๆ เพื่อสร้างวัฒนธรรมใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น