• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการสกัดข้อมูลปัจจัยสภาพแวดล้อมทางทะเล

1. ผลการสกัดข้อมูลปัจจัยสภาพแวดล้อมทางทะเลที่มีผลต่อการกระจายของปลาผิวน ้า จาก

1.2 ผลการสกัดข้อมูลปัจจัยสภาพแวดล้อมทางทะเล

ตาราง 6 ค่าเฉลี่ยรายเดือนของข้อมูลคลอโรฟิลล์ เอ ณ ต าแหน่งจับปลาที่สกัดได้จากภาพถ่ายจาก ดาวเทียม

เดือน ค่าเฉลี่ยคลอโรฟิลล์ เอ (มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)

พ.ศ. 2562 พ.ศ.2563

มกราคม 1.57 1.00

กุมภาพันธ์ 0.80 1.17

มีนาคม 1.06 1.25

เมษายน 0.75 1.08

พฤษภาคม 0.47 0.72

มิถุนายน 0.42 0.65

กรกฎาคม 0.50 0.67

สิงหาคม 1.13 0.38

กันยายน 0.67 0.58

ตุลาคม 0.50 1.50

พฤศจิกายน 0.97 1.70

ธันวาคม 0.78 2.14

ภาพประกอบ 15 ข้อมูลคลอโรฟิลล์ เอ พ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 16 ข้อมูลคลอโรฟิลล์ เอ พ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 17 ข้อมูลคลอโรฟิลล์ เอ พ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 18 ข้อมูลคลอโรฟิลล์ เอ พ.ศ. 2563

ภาพประกอบ 19 ข้อมูลคลอโรฟิลล์ เอ พ.ศ. 2563

ภาพประกอบ 20 ข้อมูลคลอโรฟิลล์ เอ พ.ศ. 2563

ผลการสกัดข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเล ณ ต าแหน่งจับปลา พบว่าในปี 2562 ข้อมูล อุณหภูมิผิวน ้าทะเลที่จะสกัดได้จากภาพถ่ายจากดาวเทียม อยู่ในช่วง 26.97 - 31.54 องศา เซลเซียส เดือนพฤษภาคมมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 31.54 องศาเซลเซียส และเดือนธันวาคมมีค่าเฉลี่ย ต ่าที่สุด เท่ากับ 26.97 องศาเซลเซียส ในปี 2563 มีค่าเฉลี่ยแต่ละเดือนอยู่ในช่วง 24.41 -29.91 องศาเซลเซียส เดือนพฤษภาคมมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 29.91 องศาเซลเซียส และเดือนตุลาคมมี

ค่าเฉลี่ยต ่าที่สุด เท่ากับ 24.41 องศาเซลเซียส ดังตาราง 7 การกระจายของอุณหภูมิผิวน ้าทะเล พบว่าช่วงอุณหภูมิที่กระจายทั่วพื้นที่จะอยู่ในช่วง 28.57 - 33.87 องศาเซลเซียส สอดคล้องกับผล การศึกษาของ เมธี แก้วเนิน และคณะ (2560) กล่าวว่าอุณหภูมิผิวน ้าทะเลที่เหมาะสมของปลาผิว น ้าอาศัยอยู่ระหว่าง 28.75 - 30.25 องศาเซลเซียส และผลการศึกษาของ Zainuddin Mukti et al.

(2017) ศึกษาแหล่งที่อยู่อาศัยของปลาทูน่าในอ่าวโบนิ ประเทศอินโดนีเซีย กล่าวว่าช่วงอุณภูมิผิว น ้าทะเลที่พบปลาทูน่าอาศัยอยู่ระหว่าง 29.5 - 31.5 องศาเซลเซียส

ตาราง 7 ค่าเฉลี่ยรายเดือนของข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเลณ ต าแหน่งจับปลาที่สกัดได้จาก ภาพถ่ายจากดาวเทียม

เดือน ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวน ้าทะเล (องศาเซลเซียส) พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563

มกราคม 27.08 28.49

กุมภาพันธ์ 27.94 27.73

มีนาคม 29.36 29.63

เมษายน 30.80 29.58

พฤษภาคม 31.54 29.91

มิถุนายน 28.19 25.40

กรกฎาคม 28.86 26.33

สิงหาคม 29.08 26.69

กันยายน 27.27 25.66

ตุลาคม 28.52 24.41

พฤศจิกายน 29.72 26.76

ธันวาคม 26.97 26.82

ภาพประกอบ 21 ข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเลพ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 22 ข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเลพ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 23 ข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเลพ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 24 ข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเลพ.ศ. 2563

ภาพประกอบ 25 ข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเลพ.ศ. 2563

ภาพประกอบ 26 ข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเลพ.ศ. 2563

ผลการสกัดข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลณ ต าแหน่งจับปลา พบว่าในปี 2562 ข้อมูล ความสูงระดับน ้าทะเลที่จะสกัดได้จากภาพถ่ายจากดาวเทียม อยู่ในช่วง 0.62 - 1.07 เมตร เดือนมกราคมมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 1.07 เมตร และเดือนสิงหาคม มีค่าเฉลี่ยต ่าที่สุด เท่ากับ 0.62 เมตร ในปี 2563 มีค่าเฉลี่ยแต่ละเดือนอยู่ในช่วง 0.63 - 1.04 เมตรเดือนธันวาคมมีค่าเฉลี่ย มากที่สุด เท่ากับ 1.04 เมตร และเดือนสิงหาคมมีค่าเฉลี่ยต ่าที่สุดเท่ากับ 0.63 เมตร ดังตาราง 8 การกระจายของความสูงระดับน ้าทะเลมีกระจายครอบคลุมทั้งพื้นที่และในแต่ละเดือนจะขึ้นอยู่กับ น ้าขึ้นน ้าลง ลม และกระแสน ้า

ตาราง 8 ค่าเฉลี่ยรายเดือนของข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลณ ต าแหน่งจับปลาที่สกัดได้จาก ภาพถ่ายจากดาวเทียม

เดือน ค่าเฉลี่ยความสูงระดับน ้าทะเล (เมตร)

พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563

มกราคม 1.07 0.96

กุมภาพันธ์ 1.03 1.03

มีนาคม 0.80 0.80

เมษายน 0.89 0.89

พฤษภาคม 0.72 0.72

มิถุนายน 0.66 0.66

กรกฎาคม 0.66 0.66

สิงหาคม 0.62 0.63

กันยายน 0.67 0.67

ตุลาคม 0.81 0.81

พฤศจิกายน 1.01 1.01

ธันวาคม 1.04 1.04

ภาพประกอบ 27 ข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลพ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 28 ข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลพ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 29 ข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลพ.ศ. 2562

ภาพประกอบ 30 ข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลพ.ศ. 2563

ภาพประกอบ 31 ข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลพ.ศ. 2563

ภาพประกอบ 32 ข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลพ.ศ. 2563

จากผลการวิจัยข้างต้นข้อมูลต าแหน่งจับปลามีการกระจายทั่วทั้งพื้นที่ศึกษาและ ส่วนใหญ่พบการกระจุกตัวบริเวณใกล้ชายฝั่ง และการกระจายของปัจจัยสภาพแวดล้อมทางทะเล ได้แก่ ข้อมูลคลอโรฟิลล์ เอ สกัดได้จากภาพถ่ายจากดาวเทียม อยู่ในช่วง 0.38 - 2.14 มก./ม3 สอดคล้องกับผลการศึกษา Welliken Marius et al. (2018) ศึกษาความแปรปรวนของคลอโรฟิลล์

เอ และอุณภูมิผิวน ้าทะเล และการจับปลาแมคเคอเรลในทะเลอาราฟูรา พบว่าช่วงค่าคลอโรฟิลล์

เอ ที่สัมพันธ์กับแหล่งจับปลาอยู่ในช่วง 0.30 - 8.04 มก./ม3 และข้อมูลอุณหภูมิผิวน ้าทะเล สกัดได้

จากภาพถ่ายจากดาวเทียมจะอยู่ในช่วง 28.57 - 33.87 องศาเซลเซียส สอดคล้องกับผลการศึกษา ของ เมธี แก้วเนิน และคณะ (2560) กล่าวว่าอุณหภูมิผิวน ้าทะเลที่เหมาะสมต่อปลาผิวน ้าอาศัยอยู่

ระหว่าง 28.75 - 30.25 องศาเซลเซียส และผลการศึกษาของ Zainuddin Mukti et al. (2017) ศึกษาแหล่งที่อยู่อาศัยของปลาทูน่าในอ่าวโบนิ ประเทศอินโดนีเซีย กล่าวว่าช่วงอุณภูมิผิวน ้าทะเล ที่พบปลาทูน่าอาศัยอยู่ระหว่าง 29.5 - 31.5 องศาเซลเซียส ส่วนข้อมูลความสูงระดับน ้าทะเลสกัด ได้จากภาพถ่ายจากดาวเทียม อยู่ในช่วง 0.62 - 1.07 เมตร ซึ่งความสูงระดับน ้าทะเลในแต่ละ เดือนขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ น ้าขึ้น-น ้าลง ลม และกระแสน ้า

2. ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสภาพแวดล้อมทางทะเลที่มีผลต่อการ