• Tidak ada hasil yang ditemukan

ปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมผู้บริโภค

(6W1H)

ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดบริการ (7Ps)

อายุ

(อายุที่มากขึ้นจะ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร ตัดสินใจซื้อลดลง เมื่อเทียบกับผู้ที่มี

อายุน้อย)

ระดับการศึกษา (ระดับการศึกษา ป ริ ญ ญ า โ ท จ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร ตัดสินใจซื้อลดลง เมื่อเทียบกับระดับ มัธยม)

ด้านผลิตภัณฑ์

(สิ น ค้ า มี คุ ณ ภ า พ ม า ต ร า ฐ า น แ ล ะ หลากหลาย)

ด้านการส่งเสริม การตลาด

(ร้านค้ามีการโฆษณา และมีการลดราคา หรือแจกแถมสินค้า) ช่วงเวลา

(18.00-21.00 น.

ส่ ง ผ ล ใ ห้ มี ก า ร ตัดสินใจซื้อมาก ขึ้นเมื่อเทียบกับ 0.01-03.00น.)

ด้านสิ่งที่ปรากฎต่อ สายตาลูกค้า

( ร้านค้ามีคนติดตาม จ านวนมากและมีการ แ ส ด ง ข้อ มู ล อ ย่า ง ชัดเจน)

72

จากภาพที่ 5.1 แสดงให้เห็นว่า ผลการทดสอบสมมติฐาน จ าเป็นต้องมีปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมผู้บริโภค (6W1H) และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7Ps)

ปัจจัยส่วนบุคคลมีอายุและระดับการศึกษา โดยอายุที่มากขึ้นจะส่งผลต่อการตัดสินใจ ซื้อลดลงเมื่อเทียบกับผู้ที่มีอายุน้อย ระดับการศึกษาปริญญาโทจะส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อลดลง เมื่อเทียบกับระดับมัธยม พฤติกรรมผู้บริโภค (6W1H) ช่วงเวลา 18.00-21.00 น.ส่งผลให้มีการ ตัดสินใจซื้อมากขึ้นเมื่อเทียบกับ 0.01-03.00น. ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7Ps) ได้แก่

ด้านผลิตภัณฑ์ สินค้ามีคุณภาพมาตราฐานและหลากหลาย ด้านการส่งเสริมการตลาดร้านค้ามีการ โฆษณาและมีการลดราคาหรือแจกแถมสินค้า และด้านสิ่งที่ปรากฏต่อสายตาลูกค้าร้านค้ามีคน ติดตามจ านวนมากและมีการแสดงข้อมูลอย่างชัดเจน

จากปัจจัยข้างต้นเป็นปัจจัยที่มีความจ าเป็นอย่างยิ่งในต่อธุรกิจขายเครื่องส าอาง เนื่องจากเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของธุรกิจขายเครื่องส าอางออนไลน์ผ่านบุ๊ก ผู้ประกอบการควรค านึงถึงสิ่งเหล่านี้

ข้อเสนอแนะ

การค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณซึ่งเก็บข้อมูลจากผู้ที่ซื้อเครื่องส าอางผ่าน เฟซบุ๊กได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ด้านราคา (Price) ด้านช่องทางการจัดจ าหน่าย (Place) ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion) ด้านบุคคลากร (People) ด้านกระบวนการ (Process) และ ด้านด้านการสร้างและน าเสนอลักษณะทางกายภาพ (Phyical Evidence) ดังนี้

1. ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ผู้วิจัยเห็นว่าการขายเครื่องส าอางบนเฟซบุ๊กมีข้อได้เปรียบ เนื่องจากสินค้าบางชนิดไม่มีจ าหน่ายในประเทศจึงท าให้ผู้บริโภคต้องสั่งซื้อบนเฟซบุ๊กหรือทาง ออนไลน์เท่านั้นและผู้ที่จ าหน่ายเครื่องส าอางผ่านเฟซบุ๊ก ควรให้ความส าคัญกับสินค้ากับตราสินค้า ที่มีมาตราฐาน เช่น เครื่องส าอางที่มีเครื่องหมายว่าผ่านการทดสอบจากองค์กรหรือหน่วยงานที่

น่าเชื่อถือ จากด้านนี้จึงเป็นข้อได้เปรียบที่ผู้ขายสินค้าผ่านเฟซบุ๊กสามารถลดคู่แข่งได้

2. ด้านราคา (Price) ผู้วิจัยเห็นว่า ทางร้านค้าควรให้ความส าคัญกับความสมเหตุสมผล ของราคาสินค้า เนื่องจากคุณภาพของสินค้าและราคาควรมีความสอดคล้องกัน ไม่ควรตั้งราคาที่สูง หรือต ่าจนเกินไปและควรให้ความส าคัญกับความหลากหลายของวิธีการช าระเงิน เพื่อให้ความ สะดวกสบายและรวดเร็วแก่ผู้บริโภคในการช าระเงิน

73

3. ด้านช่องทางการจัดจ าหน่าย (Place) ผู้วิจัยเห็นว่าทางร้านค้าออนไลน์ควรมีการ ส่งเสริมการขาย ลดราคา แจก แถมสินค้าหรืออาจมีการสมัครสมาชิค มีกิจกรรมเพื่อให้ผู้บริโภค ได้รับสิทธิพิเศษเป็นการเพิ่มยอดขายให้ร้านค้าบนเฟซบุ๊ก รวมทั้งการโฆษณาอย่างสม ่าเสมอเพื่อ เพิ่มลูกค้าใหม่ เพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น รวมทั้งการลงโฆษณาบนเฟซบุ๊กเพื่อให้

ผู้บริโภคจดจ าร้านได้และนึกถึงเมื่อต้องการซื้อเครื่องส าอาง

4. ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion) ผู้วิจัยเห็นว่าร้านค้าเป็นเฟซบุ๊กควรมีการ โฆษณาอย่างสม ่าเสมอ เพื่อให้ผู้บริโภคจดจ าร้านค้าได้ติดตาและเมื่อต้องการซื้อสินค้าจะให้

ผู้บริโภคนึกร้านค้าท่านเป็นอันดับแรก อีกทั้งการโฆษณายังสร้างความน่าเชื่อถือให้กับทางร้านค้า อีกด้วย ควรมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการขายอย่างสม ่าเสมอ เช่น การลดราคา แถมสินค้า เป็นต้น

5. ด้านบุคคลากร (People) ผู้วิจัยเห็นว่า พนักงานขายควรการกล่าวทักทายลูกค้า มีอัธยาศัยที่ดีและควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสินค้าที่ทางร้านค้าจ าหน่ายเป็นอย่างดี เนื่องจาก

สินค้าแต่ล่ะชนิดมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกัน รวมทั้งคุณสมบัติของสินค้าที่เหมาะสมกับ ผู้บริโภคที่แตกต่างกันด้วย เมื่อลูกค้าตั้งค าถามและต้องการค าแนะน าจากร้านค้า ทางร้านค้าต้องให้

ข้อมูลแก่ผู้บริโภคได้

6. ด้านกระบวนการ (Process) ผู้วิจัยเห็นว่า ทางร้านค้าควรให้ความส าคัญกับขั้นตอน การสั่งซื้อสินค้าที่สะดวก รวดเร็ว ง่ายดาย เพื่อให้ผู้บริโภคเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายและให้ความรู้สึกว่า การซื้อสินค้าบนเฟซบุ๊กเป็นเรื่องที่ง่าย รวมทั้งความถูกต้องของค าสั่งที่สั่งซื้อสินค้า ถ้าหากเกิดความ ผิดพลาดจากร้าน จะท าให้ร้านค้ามีความน่าเชื่อถือที่ลดลดและเกิดความล่าช้า

7. ด้านด้านการสร้างและน าเสนอลักษณะทางกายภาพ (Phyical Evidence) ผู้วิจัยเห็นว่า ร้านค้าบนเฟซบุ๊กควรให้ความส าคัญกับรูปแบบของเว็บไซต์ เช่น มีการแสดงข้อมูลอย่างชัดเจนและ มีความน่าเชื่อถือ มีจ านวนคนที่กดถูกใจหรือติดตามบนเฟซบุ๊ก รวมทั้งการบรรจุภัณฑ์ที่ท าการ จัดส่งมีความเหมาะสม แข็งแรงและคงทน ดังนั้น ผู้ที่จ าหน่ายเครื่องส าอางผ่านเฟซบุ๊ก ควรเอาใจใส่

กับร้านค้าบนเฟซบุ๊ก เช่น มีการปรับปรุงร้านให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา มีการรีวิวเครื่องส าอางจาก ลูกค้าที่ซื้อไปแล้วบนหน้าร้านเฟซบุ๊ก

74 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป

1. การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลจากผู้ซื้อเพียงด้านเดียว ยังมีด้านผู้จ าหน่ายที่ไม่ได้

เก็บข้อมูล โดยข้อเสนอแนะส าหรับงานวิจัยในอนาคต หากได้มุมมองทั้งผู้ซื้อและผู้ขายจะท าให้งาน สมบรูณ์มากยิ่งขึ้น

2. การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลเฉพาะเครื่องส าอางและเฟซบุ๊ก ซึ่งในปัจจุบันมี

สินค้าหลากหลายชนิดที่ค้าขายบนโลกออนไลน์ รวมทั้งสื่อสังคมออนไลน์ อาทิเช่น ไลน์

อินสตราแกรม ที่ได้รับความนิยมในทั่วโลกไม่ต่างจากเฟซบุ๊ก

75

บรรณานุกรม

กาญจนา กลัดนุ่ม. (2553). การวิเคราะห์ปัจจัยความพึงพอใจการตัดสินใจซื้อสินค้าในเว็บไซต์

ออนไลน์โดยใช้แบบจ าลองสมการโครงสร้าง. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ).

กรมส่งส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์. (2558). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพาณิชย์

อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce). สืบค้นจาก http://www.depthai.go.th

เขมขวัญ สุดดี. (2557). กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคชาวไทยต่อการซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่าน ทางเฟซบุ๊ก. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ส านักงาน. (2554). ยุทธศาสตร์ของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559. สืบค้นจาก http://www.nesdb.go.th./Default.aspx?tabid=395

จรินทร์ อาสาทรงธรรม. Balanced Scorecard ช่วยกิจการได้จริงหรือ. ภาควิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สืบค้นจาก http://tulip.bu.ac.th/~jarin.a/content /Management /BSC.htm

จิตราภา ยิ่งยง. (2555). การศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อเครื่องส าอางเกาหลีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา: นักศึกษาหญิง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปกร วิทยาเขต สารสนเทศเพชรบุรี. (จุลนิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปกร วิทยาเขต สารสนเทศเพชรบุรี).

ฉัตยาพร เสมอใจ และมัทนียา สมมิ. (2545). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ต.

ชัยวัฒน์ พิทักษ์รักธรรม. (2558). ปัจจัยที่มีความส าคัญต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภค.

(วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระนคร).

ณัฏฐ์ธนานัญ ฤทัยสว่างกุล. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการผ่านระบบ อินเตอร์ของผู้บริโภคในจังหวัดล าปาง. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเนชั่น).

ณัฏฐ์ชิสา อัฐศักดิ์. (2558). ปัจจัยในการเลือกซื้อสินค้าแบรนด์เนมทางออนไลน์ประเภทกระเป๋าและ รองเท้าสุภาพสตรี. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

76

ทัณฑิมา เชื้อเขียว. (2550). พฤติกรรมในการซื้อสินค้าและบริการ ผ่านเว็บไซต์พาณิชย์

อิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่. (การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี:

สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

นัทธมน เดชประภัสสร. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทาง อินเทอร์เน็ต. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

นิสาชล ปานจันดี. (2557). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกใช้บริการตัวแทน ออกสินค้า ของโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. (นิพนธ์รัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา).

ปริยวิศว์ ชูเชิด. (2558). ปัจจัยความสัมพันธ์ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ สินค้าออนไลน์. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์).

ปัทมาพร คัมภีระ. (2557). พฤติกรรมการซื้อเครื่องส าอางผ่านเว็บไซต์เฟซบุ๊ค ของนักศึกษาหญิงใน เขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

ปุลณัช เดชมานนท์. (2556). การตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อเครือข่ายออนไลน์ในช่วงเวลาจ ากัด. (การ ค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).

พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, ส านักงาน. (2559). วิเคราะห์การใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย.

สืบค้นจาก https://brandinside.asia/survey-internet-thailand-user-2559/

พิชามาญชุ์ มะลิขาว. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นสตรีผ่านสื่อสังคม ออนไลน์เฟซบุ๊ก. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลธัญบุรี).

พัชรี เลิศรู้. (2557). ความส าคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการประยุกต์ในด้านต่าง ๆ.

ศรีสะเกษ: คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.

มัทวัน กุศลอภิบาล. (2555). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการร้าน กาแฟสดของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. (สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสยาม).

Dokumen terkait