• Tidak ada hasil yang ditemukan

4.1.1 ควำมถ่วงจ ำเพำะของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เถ้ำลอย และเถ้ำก้นเตำ

จำกผลกำรทดสอบควำมถ่วงจ ำเพำะตำมมำตรฐำน ASTM ซึ่งเป็นค่ำเฉลี่ยที่ได้จำก กำรใช้ตัวอย่ำง 2 ตัวอย่ำง โดยค่ำควำมถ่วงจ ำเพำะมีค่ำดังตำรำง 4 โดยค่ำควำมถ่วงจ ำเพำะของ ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 และเถ้ำลอย มีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 3.13, และ 2.17 ตำมล ำดับ ส่วนค่ำควำมถ่วงจ ำเพำะของเถ้ำก้นเตำบดละเอียดขนำดเล็ก (SB) และขนำดใหญ่ (LB) มีค่ำ เท่ำกับ 2.78 และ 2.70 ตำมล ำดับ เห็นได้ว่ำกำรปรับปรุงคุณภำพของเถ้ำก้นเตำโดยบดให้มีควำม ละเอียดขึ้นส่งผลให้มีค่ำควำมถ่วงจ ำเพำะสูงขึ้น เนื่องจำกเถ้ำก้นเตำก่อนบดละเอียดมีลักษณะภำยใน ที่กลวง มีควำมเป็นรูพรุนสูง เมื่อน ำไปบดให้มีควำมละเอียดมำกขึ้น อนุภำคของเถ้ำก้นเตำเกิดกำร แตกตัวท ำให้เนื้อภำยในที่กลวงและรูพรุนน้อยลง

4.1.2 ควำมละเอียดของอนุภำคของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เถ้ำลอย และเถ้ำก้นเตำ บดละเอียด

ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เถ้ำลอย และเถ้ำก้นเตำบดละเอียดทั้ง 2 ขนำด ถูกทดสอบ ควำมละเอียดโดยใช้ตะแกรงมำตรฐำนเบอร์ 325 ในกำรวัดค่ำควำมละเอียด ซึ่งแสดงผลกำร

40 ทดสอบ ดังตำรำง 4 พบว่ำปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 และเถ้ำลอยมีปริมำณวัสดุค้ำงบน ตะแกรงมำตรฐำนเบอร์ 325 มีค่ำร้อยละ 13.2 และ 30.5 โดยน้ ำหนักตำมล ำดับ ส่วนเถ้ำก้นเตำ บดละเอียดขนำดเล็ก (SB) และขนำดใหญ่ (LB) มีปริมำณวัสดุค้ำงบนตะแกรงมำตรฐำนเบอร์

325 เท่ำกับร้อยละ 4.9 และ 33.6 โดยน้ ำหนักตำมล ำดับ ตำมมำตรฐำน ASTM C618 ได้

ก ำหนดค่ำ กำรทดสอบหำควำมเป็นวัสดุปอซโซลำนของเถ้ำลอยไว้ว่ำค่ำสูงสุดที่ยอมให้ได้ของปริมำณ วัสดุค้ำงตะแกรงมำตรฐำนเบอร์ 325 มีปริมำณไม่เกินร้อยละ 34 โดยน้ ำหนัก แสดงให้เห็นว่ำ เถ้ำลอยและเถ้ำก้นเตำทั้ง 2 ขนำด มีคุณสมบัติเป็นวัสดุปอซโซลำน โดยมีปริมำณวัสดุค้ำงบน ตะแกรงมำตรฐำนเบอร์ 325 น้อยกว่ำร้อยละ 34 โดยน้ ำหนัก

4.1.3 ขนำดอนุภำคเฉลี่ย

จำกกำรทดสอบโดยใช้เครื่อง LS particle size analyzer ได้ผลกำรทดสอบขนำด อนุภำคเฉลี่ยของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 เถ้ำลอย และเถ้ำก้นเตำบดละเอียดทั้ง 2 ขนำด แสดงไว้ในตำรำง 4 พบว่ำปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 และเถ้ำลอย มีขนำด อนุภำคเฉลี่ยเท่ำกับ 11.2 และ 18.0 ไมโครเมตรตำมล ำดับ ส่วนเถ้ำก้นเตำบดละเอียดขนำดเล็ก (SB) และเถ้ำก้นเตำบดละเอียดขนำดใหญ่ (LB) มีขนำดอนุภำคเฉลี่ยเท่ำกับ 6.3 และ 22.2 ไมโครเมตรตำมล ำดับ จำกข้อมูลขนำดอนุภำคเฉลี่ยของเถ้ำก้นเตำบดละเอียดทั้ง 2 ขนำดนั้น แสดงให้เห็นว่ำปริมำณกำรค้ำงตะแกรงมำตรฐำนเบอร์ 325 ในช่วงน้อยกว่ำร้อยละ 5 และช่วงร้อย ละ 30-35 โดยน้ ำหนักนั้น ท ำให้ได้ขนำดอนุภำคเฉลี่ยของขนำดเล็กและขนำดใหญ่แตกต่ำงกับ ประมำณ 3 เท่ำตัว

ตาราง 4 สมบัติทำงกำยภำพของวัสดุ

Sample Specific Gravity

Retained on Sieve

Median Particle Size No. 325 (%) d50 (micron)

Cement 3.13 13.2 11.2

FA 2.17 30.5 18.0

LB 2.70 33.6 22.2

SB 2.78 4.9 6.3

41 4.1.4 ภำพขยำยก ำลังสูงของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เถ้ำลอย และเถ้ำก้นเตำบดละเอียด ท ำกำรถ่ำยภำพขยำยก ำลังสูงโดยใช้เครื่อง Scanning electron microscope (SEM) พบว่ำปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 มีรูปร่ำงลักษณะเป็นเหลี่ยมเป็นมุม พื้นผิว ค่อนข้ำงเรียบ เนื้อแน่นและไม่มีรูพรุน ดังแสดงในภำพประกอบ 7 และ 8 ส่วนภำพขยำยก ำลังสูง ของเถ้ำลอยแสดงในภำพประกอบ 9 พบว่ำมีลักษณะอนุภำคทรงกลมตัน เนื้อแน่น บำงส่วนมี

ลักษณะรูปร่ำงไม่แน่นอน มีผิวขรุขระบ้ำงเล็กน้อย ภำพประกอบ 10 แสดงภำพถ่ำยขยำยก ำลังสูง ของเถ้ำก้นเตำก่อนบด (OB) พบว่ำเถ้ำก้นเตำก่อนบดมีขนำดอนุภำคที่ใหญ่และมีรูปทรงที่ไม่แน่นอน ลักษณะเหมือนวัตถุทรงกลมยึดติดกัน ผิวโดยส่วนใหญ่ขรุขระ มีรูพรุนสูง ส่วนภำพประกอบ 11 และ 12 แสดงภำพถ่ำยขยำยก ำลังสูงของเถ้ำก้นเตำบดละเอียดขนำดใหญ่ (LB) และขนำดเล็ก (SB) ตำมล ำดับ โดยเมื่อบดเถ้ำก้นเตำให้มีขนำดอนุภำคเล็กลงนั้น รูปร่ำงวัสดุมีลักษณะเป็นเหลี่ยม เป็นมุมอย่ำงเห็นได้ชัดเจนขึ้นและพื้นผิวภำยนอกเรียบมำกขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับเถ้ำก้นเตำก่อนบด ซึ่งเมื่อพิจำรณำโดยรวมเห็นได้ว่ำเถ้ำก้นเตำบดละเอียดทั้ง 2 ขนำดมีเนื้อแน่นหรือควำมหนำแน่น เพิ่มขึ้นเนื่องจำกไม่มีรูพรุนปรำกฏให้เห็น

ภาพประกอบ 7 ภำพถ่ำยขยำยอนุภำคของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ก ำลังขยำย 1000 เท่ำ

42

ภาพประกอบ 8 ภำพถ่ำยขยำยอนุภำคของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ก ำลังขยำย 2000 เท่ำ

ภาพประกอบ 9 ภำพถ่ำยขยำยอนุภำคของเถ้ำลอย (FA)

43

ภาพประกอบ 10 ภำพถ่ำยขยำยอนุภำคของเถ้ำก้นเตำก่อนบด (OB)

ภาพประกอบ 11 ภำพถ่ำยขยำยอนุภำคของเถ้ำก้นเตำบดละเอียดขนำดใหญ่ (LB)

44

ภาพประกอบ 12 ภำพถ่ำยขยำยอนุภำคของเถ้ำก้นเตำบดละเอียดขนำดเล็ก (SB)