• Tidak ada hasil yang ditemukan

Herbart Method and Cognitive Strategy Instruction (CSI)

1. ข้อเสนอแนะทั่วไป

1.1 ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการท า กิจกรรมทุกครั้ง และกิจกรรมการเรียนการสอน จะต้องเป็นไปตามล าดับขั้นตอนตามที่ก าหนดไว้

อย่างเคร่งครัด เพราะจะท าให้นักเรียนเกิด ความมั่นใจ และกล้าแสดงออก การได้ท าหรือ ได้ฝึกซ้ าๆ ในสถานการณ์โจทย์ที่แตกต่างกัน ออกไป ก็ท าให้นักเรียนเกิดทักษะการแก้โจทย์

ปัญหาคณิตศาสตร์เรื่องอื่นๆ ได้เช่นกัน

1.2 การเสริมแรงทางบวก เช่น ค าชม หรือการให้ก าลังใจอย่างสม่ าเสมอต่อเนื่อง จะช่วยให้นักเรียนเกิดความกล้า มีความมั่นใจ มีก าลังใจในการเรียนรู้และกระตือรือร้นที่จะ เรียนรู้มากขึ้น

1.3 ควรให้โอกาสนักเรียนในการฝึก วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างและคล้ายคลึง กันระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ด้วยตนเองอยู่

เสมอ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้โจทย์

ปัญหาได้ดีขึ้น

1.4 ช่วงเวลาที่ใช้เก็บข้อมูลอาจมี

ผลต่อผู้เรียนเนื่องจากผู้วิจัยเก็บข้อมูลช่วงเวลา บ่าย ซึ่งท าให้กลุ่มตัวอย่างมีความเหนื่อยล้า จากการเรียนมาตลอดทั้งวัน อาจมีผลท าให้

ประสิทธิภาพในการเรียนคณิตศาสตร์ลดลง 1.5 ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนจ านวน 2 ห้องพร้อมๆ กัน ท าให้มี

จ านวนนักเรียนมาก มีผลต่อประสิทธิภาพ ในการควบคุมดูแลชั้นเรียนลดลง ซึ่งอาจเป็น อีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบต่อผลการวิจัย

2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการวิจัยการสอนที่ใช้

การสอนแบบแฮร์บาร์ต (Herbart Method) ร่วมกับการสอนกลวิธีด้านความรู้ความคิด (Cognitive Strategy Instructions) ในการสอน แก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์เรื่องอื่นๆ

2.2 ควรมีการวิจัยที่ใช้การสอน แบบแฮร์บาร์ต (Herbart Method) ร่วมกับ การสอนกลวิธีด้านความรู้ความคิด (Cognitive Strategy Instructions) ในกลุ่มสาระอื่นๆ เช่น กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ในรายวิชาฟิสิกส์

2 . 3 ค ว ร มี ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร ส อ น แบบแฮร์บาร์ต (Herbart Method) ร่วมกับ การสอนกลวิธีด้านความรู้ความคิด (Cognitive Strategy Instructions) กับตัวแปรอื่นๆ เช่น ด้านความคิดสร้างสรรค์ความพึงพอใจ ด้านเจตคติ

พฤติกรรมการแสดงออก หรือแรงจูงใจใน การเรียน เป็นต้น

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). คู่มือการจัดการ เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์

องค์การค้าคุรุสภา.

_______. (2551). พระราชบัญญัติการจัด การศึกษาส าหรับคนพิการ พ.ศ. 2551.

กรุงเทพฯ: ส านักบริหารงานการศึกษา พิเศษ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.

จักรพันธ์ นนทะโชติ. (2551). ความสามารถใน การใช้กลวิธีการสร้างตารางและกลวิธี

ว า ด ภ า พ ใ น ก า ร แ ก้ โ จ ท ย์ ปั ญ ห า คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ที่มีระดับการรับรู้ความสามารถ ของตนเองทางคณิตศาสตร์แตกต่างกัน.

ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์).

กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. (2548). ทฤษฎีการเรียน อ ย่ า ง มี ค ว า ม ห ม า ย ( Meaningful Learning Theory). แหล่งข้อมูลด้าน

แพ ท ย ศา ส ต รศึ กษ า ( PSU Medical Education Resc). สงขลา: มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์.

ณิชนันท์ ค านวณศิลป์. (2555). การพัฒนา กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของ แฮบาร์ตร่วมกับเทคนิคของโพลยาเพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา เชื่อมโยง เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน รายวิชาฟิสิกส์ ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.

สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา.

พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ผดุง อารยะวิญญู. (2542). การศึกษาส าหรับ เด็กที่มีความต้องการพิเศษ. กรุงเทพฯ:

แว่นแก้ว.

ราชัน นิลบรรพต. (2546). การศึกษาความ สามารถการแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จากการสอนโดยวิธี

SQRQCQ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การ ศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ล้วน สายยศ และคณะ. (2538). เทคนิค การวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4.

ก รุ ง เ ท พ ฯ : ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ.

วรรณรัตน์ เปี๊ยนเปี่ยมสิน. (2553). การศึกษา ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของ นักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความบกพร่อง

ทางการได้ยินจากการจัดกิจกรรมดนตรี

ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ต า ม แ น ว คิ ด ข อ ง คาร์ลออร์ฟ.ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การ ศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิไล หนูนาค. (2547). การพัฒนาการจัด การเรียนรู้แบบบูรณาการโดยครูคนเดียว วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พื้นที่ผิวและ ปริมาตร ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 โรงเรียนวิเชียรมาตุ. วิทยานิพนธ์

กศ.ม.(หลักสูตรและการสอน). ภูเก็ต:

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. ถ่ายเอกสาร.

ศิวพร ธีรลดานนท์. (2556). การศึกษาความ สามารถอ่านและเขียนค าที่สะกดไม่ตรงต ามมาตราตัวสะกดของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 ที่มีความบกพร่องทาง การเรียนรู้จากการสอนโดยใช้วิธีสอนของ แฮร์บาร์ตร่วมกับเทคนิค CCC . เอกสาร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร (Proceedings) ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ระดับชาติ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและ พัฒนาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

ศรียา นิยมธรรม. (2544). ความบกพร่องทาง การได้ยิน: ผลกระทบทางจิตวิทยาการ ศึ ก ษ า แ ล ะ สั ง ค ม. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3 . กรุงเทพฯ: ส านักแว่นแก้ว.

สมวงษ์ แปลงประสพโชค. (2540). นวัตกรรม เพื่อการแก้ปัญหาการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ระดับชั้น ป.5 เรื่อง อัตรา ส่วนและร้อยละ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด.

(คณิตศาสตร์ศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวภา บุญรัตน์. (2556). การใช้รูปจ าลอง สี่เหลี่ยมมุมฉากเพื่อสร้างความคิด

รวบยอด เรื่อง การคูณพหุนามของ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น โสตศึกษาจังหวัดสงขลา. เอกสาร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร (Proceedings) ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ระดับชาติ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและ พัฒนาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

อนัญยาณี ศรีนอก. (2552). การศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระปริมาตร และพื้นที่ผิวและความคงทนในการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินจากการ สอนแบบผสมผสานวิธีการจัดการเรียนรู้

แบบวรรณีกับพอลโลเวย์และแพ็ตตัน. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ).

กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

David S. Martin; & others. (2001, Number

4, October). The Impact of Cognitive Strategy Instruction on

Deaf Learners: An International

Comparative Study. American

Annals of the Deaf. 146: 366-378.

Jennifer Krawec; &Marjorie Montague.

(2012). Current Practice Alerts : Cognitive Strategy Instruction.

Retrieved January 14, 2014, from h t t p : / / s 3 . a m a z o n a w s . c o m /cmiteachingld/alerts/21/uploaded _files/original_Alert19.pdf

Polya, George. (1985). How to Solve It.

2nd ed. New York: Doubleday Anchor Books.

_________. (2557). วิธีสอนแบบแฮร์บาร์ต (Herbart Method). สื บ ค้ น เ มื่ อ 2 มกราคม 2557, จาก http://www.

nericclub.com/data.php?page

=17&menu_id=76.

การศึกษาความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์เรื่องรูปเรขาคณิต โดยการจัดกิจกรรม โอริกามิแบบพหุสัมผัสส าหรับนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยงบกพร่องทางการเรียนรู้

A Study of Mathematical Basic Knowledge in the Geometry of