• Tidak ada hasil yang ditemukan

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการเรียนร่วม

การเรียนร่วม (Inclusive Education) เป็นการจัดการศึกษาที่เริ่มใช้ในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ประกาศใช้กฎหมาย Individuals with Disabilities Act หรือ IDEA (1990) โดยรัฐบาลถือ เป็นนโยบายส าคัญในการจัดการศึกษาพิเศษแบบการเรียนรวมและมีการก าหนดมาตรการหลาย ประการให้โรงเรียนได้น าไปเป็นแนวทางการปฏิบัติการจัดการเรียนร่วมที่เหมาะสม โดยที่

ผู้ปกครองต้องมีบทบาทส าคัญในการจัดการศึกษาบุตรหลาน ซึ่งจากการศึกษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องมีนักวิชาการหลายท่านได้น าเสนอความหมายของการเรียนร่วมไว้ดังนี้ ผดุง อารยะวิญญู (2546) เบญจา ชลธานนท์ (2546) การเรียนร่วมเป็นวิธีการจัดการศึกษาส าหรับเด็ก ที่มีความต้องการพิเศษอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งน าเด็กที่มีความต้องการพิเศษเข้าเรียนร่วมในห้องเรียนปกติ

โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนตามปกติของเด็กทั่วไป

จากความหมายดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนร่วม คือ การจัดการศึกษาที่เปิด โอกาสให้เด็กที่มีความพิการหรือเด็กที่มีความต้องการพิเศษเข้าเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยใช้

กระบวนการเรียนการสอนตามปกติของเด็กทั่วไปและให้ความช่วยเหลือด้านการศึกษาตามความ

ต้องการจ าเป็นพิเศษของนักเรียน มีการท ากิจกรรมตามปกติในชั้นเรียน โดยใช้กระบวนการแบบ ธรรมชาติที่เป็นปกติทั่วไป ทั้งนี้เพื่อให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษหรือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เรียนรู้เพื่อการพัฒนาและปรับตนเองให้สามารถอยู่กับสังคมปกติได้ การจัดการเรียนร่วมมีหลาย รูปแบบและมีลักษณะการจัดที่แตกต่างกัน โดยมีครู บุคลากร ผู้ปกครอง และ ผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่นนักสหวิชาชีพร่วมมือเพื่อด าเนินการจัดการศึกษาให้นักเรียนทุกคน

6.2 รูปแบบการจัดการเรียนร่วม

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2550) ได้กล่าวว่า วิธีการจัดการเรียน ร่วมให้กับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษเข้าเรียนร่วมกับนักเรียนทั่วไป โดยนักเรียนที่มีความ ต้องการพิเศษ จะต้องได้รับการเตรียมความพร้อมมาก่อนและบริการสนับสนุนตามความต้องการ จ าเป็นพิเศษเฉพาะบุคคลเมื่อเข้าเรียนร่วม โดยทั่วไปรูปแบบการจัดการเรียนร่วมแบ่งออกเป็น 5 รูปแบบ คือ

รูปแบบที่ 1 ชั้นเรียนปกติเต็มวัน นักเรียนเรียนในชั้นปกติเต็มเวลาโดยอยู่ในความ รับผิดชอบของครูประจ าชั้น และนักเรียนไม่ได้รับบริการทางการศึกษาพิเศษโดยตรง

รูปแบบที่ 2 ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการปรึกษาหารือ นักเรียนเข้าเรียนในชั้น เรียนปกติเต็มเวลาโดยอยู่ในความรับผิดชอบของครูประจ าชั้น แต่มีผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นบุคคลที่มี

ประสบการณ์ทั้งในเรื่องการศึกษาปกติและการศึกษาพิเศษ ร่วมให้ค าปรึกษาหารือ เช่น นักจิตวิทยา ครูการศึกษาพิเศษซึ่งเป็นครูเดินสอน หรือครูการศึกษาพิเศษที่ท าหน้าที่เป็นครูสอน เสริมในโรงเรียน

รูปแบบที่ 3 ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการครูเดินสอนนักเรียนเข้าเรียนในชั้น เรียนปกติเต็มเวลา โดยอยู่ในความรับผิดชอบของครูประจ าชั้นและการช่วยเหลือสนับสนุนโดยตรง จากครูเดินสอนตามตารางที่ก าหนด หรือเมื่อมีความต้องการจ าเป็นพิเศษ ครูเดินสอนอาจเป็นนัก กายภาพบ าบัด ครูแก้ไขการพูด หรือครูการศึกษาพิเศษที่เดินทางไปให้บริการตามโรงเรียนต่างๆ แก่นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษทั้งในและนอกห้องเรียน รวมทั้งยังให้บริการช่วยเหลือแก่ครู

ทั่วไปโดยตรงเช่น ช่วยครูทั่วไปในกรณีที่นักเรียนบางคนต้องการสอนเสริมหรือปรับพฤติกรรม รวมทั้งให้ค าแนะน าปรึกษาแก่ครูทั่วไปเกี่ยวกับปัญหาของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

รูปแบบที่ 4 ชั้นเรียนปกติเต็มวันและการบริการสอนเสริมนักเรียนเรียนในชั้นปกติ

เต็มเวลาโดยอยู่ในความรับผิดชอบของครูประจ าชั้น แต่ได้รับการสอนเพิ่มเติมหรือสอนเสริมจาก ครูการศึกษาพิเศษในห้องสอนเสริมตามก าหนดตารางการเรียน โดยให้นักเรียนมาเรียนสอนเสริม กับครูบางเวลาและบางวิชา ครูสอนเสริมอาจสอนเนื้อหาหรือทักษะที่นักเรียนที่มีความต้องการ

พิเศษที่จะต้องเรียนรู้หรือพัฒนาให้เกิดขึ้น เช่น ทักษะท าความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการ เคลื่อนไหว (Orientation & Mobility : O & M ) ส าหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเห็นหรือ ภาษามือ ส าหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน โดยอาจสอนเป็นเฉพาะบุคคลหรือเป็น กลุ่มเล็ก ๆ ก็ได้ ในปัจจุบันครูสอนเสริมจะใช้เวลาสอนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษร่วมกับครูใน ชั้นเรียนมากกว่าที่จะน านักเรียนเหล่านี้ออกมาสอนในห้องสอนเสริม นอกจากนี้ครูสอนเสริมจะ เป็นผู้ให้ค าแนะน า ปรึกษา และสาธิตการสอน แก่ครูทั่วไปด้วย

รูปแบบที่ 5 ชั้นเรียนพิเศษและชั้นเรียนปกติ นักเรียนในชั้นเรียนพิเศษและเข้า เรียนร่วม ในชั้นเรียนปกติมากน้อยตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับระดับความสามารถของ นักเรียน โดยอาจเรียนร่วมในบางวิชา เช่น พลศึกษา ศิลปศึกษา ดนตรี -นาฏศิลป์ การงานพื้นฐาน อาชีพ จริยศึกษา ครูการศึกษาพิเศษและครูทั่วไปร่วมกันท างาน ร่วมกันรับผิดชอบรูปแบบนี้จัดได้

ทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

6.3 ความเป็นมาของการจัดการเรียนร่วมในประเทศไทย

การจัดการเรียนร่วมในประเทศไทยเท่าที่มีปรากฏหลักฐาน และรวบรวมน ามาเสนอ ไว้ดังนี้ กองการศึกษาเพื่อคนพิการ (2543) ระบุไว้ว่าในปี พ.ศ.2499 ประเทศไทยได้จัดการเรียน ร่วมเป็นครั้งแรกส าหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นของโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพฯ ส่งนักเรียนตาบอดที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยคัดเลือกจากนักเรียนที่เรียนดีและช่วยเหลือ ตนเองได้ ไปเรียนร่วมในโรงเรียนเซนต์ คาเบรียลในชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 โดยมูลนิธิช่วยคนตา บอดแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ให้ความสนับสนุนด้านทุนการศึกษา ทุนซื้อต าราและ อุปกรณ์พิเศษ ฯลฯ ได้ผลเป็นที่น่าพอใจจึงขยายไปตามโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนรัฐบาลอีก หลายแห่ง

บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการสนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวก (PBIS) ส าหรับนักเรียนที่

มีปัญหาทางพฤติกรรมในโรงเรียนเรียนร่วม เป็นงานวิจัยประเภทการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมีการด าเนินการวิจัย 3 ระยะ ได้แก่

ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหา และความคาดหวังด้านการสนับสนุนพฤติกรรมเชิง บวกส าหรับนักเรียนที่มีปัญหาทางพฤติกรรมในโรงเรียนเรียนร่วม

ระยะที่ 2 สร้างระบบการสนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวกส าหรับนักเรียนที่มีปัญหาทาง พฤติกรรมในโรงเรียนเรียนร่วม

ระยะที่ 3 ทดลองใช้และปรับปรุงระบบการสนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวกส าหรับ นักเรียนที่มีปัญหาทางพฤติกรรมในโรงเรียนเรียนร่วม

โดยในแต่ละระยะสามารถสรุปเป็นขั้นตอนการวิจัยดังภาพประกอบ 8

ขั้นตอน กระบวนการ ผลที่ได้

ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพ ปัญหา และความคาดหวัง ด้านการสนับสนุนพฤติกรรม เชิงบวกส าหรับนักเรียนที่มี

ปัญ หาทางพ ฤติกรรมใน โรงเรียนเรียนร่วม

1.ศึกษาเอกสาร ต ารา งานวิจัยทั้งในประเทศและ ต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับปัญหาพฤติกรรมของ นักเรียน สภาพปัจจุบันในการให้ความช่วยเหลือ และแนวทางในการให้ความช่วยเหลือ

2.ศึกษาสภาพปัญหา และความคาดหวังด้านการ สนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวกส าหรับนักเรียนที่มี

ปัญหาทางพฤติกรรมในโรงเรียนเรียนร่วมโดยการ สัมภาษณ์เชิงลึก

3.สังเคราะห์ผลที่ได้จากการศึกษาเอกสารและการ สัมภาษณ์เชิงลึกน าไปยกร่างระบบการสนับสนุน พฤติกรรมเชิงบวก

สภาพปัญหา และความ คาดหวังด้านการสนับสนุน พฤติกรรมเชิงบวกส าหรับ นักเรียนที่มีปัญหาทาง พฤติกรรมในโรงเรียนเรียน ร่วม

ระยะที่ 2 สร้าง (ร่าง) ระบบ สนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวก (PBIS) ส าหรับนักเรียนที่มี

ปัญหาทางพฤติกรรมใน โรงเรียนเรียนร่วม

1.น าผลที่ได้จากระยะที่ 1 และแนวคิดการพัฒนา ระบบสร้าง(ร่าง)ระบบการสนับสนุนพฤติกรรมเชิง บวก

2.การตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างระบบการ สนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวก โดยผู้ทรงคุณวุฒิโดยการสนทนากลุ่ม

3.ปรับปรุงร่างระบบการสนับสนุนพฤติกรรมเชิง บวกตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ

(ร่าง)ระบบสนับสนุน พฤติกรรมเชิงบวก (PBIS) ส าหรับนักเรียนที่มีปัญหา ทางพฤติกรรมในโรงเรียน เรียนร่วม

ระยะที่ 3 ทดลองใช้และ ปรับปรุงระบบการสนับสนุน พฤติกรรมเชิงบวก (PBIS) ส าหรับนักเรียนที่มีปัญหาทาง พฤติกรรมในโรงเรียนเรียน ร่วม

1.เลือกกลุ่มเป้าหมายโดยใช้เกณฑ์การคัดเลือก โรงเรียนที่มีคุณสมบัติที่ผู้วิจัยก าหนดไว้

2.ทดลองใช้ระบบสนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวก (PBIS) ส าหรับนักเรียนที่มีปัญหาทางพฤติกรรมใน โรงเรียนเรียนร่วม

3.ปรับปรุงระบบสนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวก (PBIS) ส าหรับนักเรียนที่มีปัญหาทางพฤติกรรมใน โรงเรียนเรียนร่วม

ระบบสนับสนุนพฤติกรรม เชิงบวก (PBIS) ส าหรับ นักเรียนที่มีปัญหาทาง พฤติกรรมในโรงเรียนเรียน ร่วม

ภาพประกอบ 8 ขั้นตอนการวิจัยระบบการสนับสนุนพฤติกรรมเชิงบวก