• Tidak ada hasil yang ditemukan

เรียนรู้สร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) จำนวน 20 ข้อ

3. การสร้างเครื่องมือและการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

การสร้างเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้า ผู้ศึกษาได้ดำเนินการตามลำดับขั้นตอน ดั้งนี้

1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัยได้ดำเนินการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้

ตามขั้นตอน ดังนี้

1.1 ศึกษาคำอธิบายราวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมในสาระที่ 3 สาระเศรษฐศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

1.2 แบ่งเนื้อหา สาระเศรษฐศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และทำการวิเคราะห์หน่วย การเรียนได้ 6 แผน 12 ชั่วโมง ดังตาราง 4

ตารางที่ 5 แสดงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์น่ารู้ สาระเศรษฐศาสตร์ วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ชื่อหน่วย แผนที่ ชื่อเรื่อง ตัวชี้วัด สาระสำคัญ การประเมิน เวลา เศรษฐศาสตร์

น่ารู้

1 การผลิต สินค้า และการ บริการ

ส 3.1 เข้าใจและ สามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรในการผลิต และการบริโภคการใช้

ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด

การดำเนินการ ผลิตสินค้าและ บริการ เพื่อให้

เกิดมูลค่าเพิ่มนั้น

1.ประเมินใบงาน รายบุคคล 2.แบบประเมินผัง ความคิด

3.แบบประเมิน พฤติกรรมกลุ่ม

2 ชั่วโมง

97 ตารางที่ 5 (ต่อ)

ชื่อหน่วย แผนที่ ชื่อเรื่อง ตัวชี้วัด สาระสำคัญ การประเมิน เวลา

เศรษฐศาสตร์

น่ารู้

ได้อย่างมี

ประสิทธิภาพและ คุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจ หลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต อย่างมีดุลยภาพ

สามารถทำได้โดย วิธีการแปรรูป การเปลี่ยนแปลง สถานที่ และการใช้

ช่วงเวลาที่แตกต่าง กันซึ่งปัจจัยการผลิต สินค้าและบริการ ประกอบ

ด้วย ที่ดินแรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ และยังมีปัจจัยอื่นที่

เป็นตัวกำหนด ปริมาณสินค้าและ บริการอีกด้วย 2 ปัจจัยที่มี

อิทธิพล ต่อการ เลือกซื้อ สินค้า และ บริการ ของ ผู้บริโภค ท้องถิ่น ต่างๆ

ส 3.1 เข้าใจและ สามารถบริหาร จัดการทรัพยากรใน การผลิตและการ บริโภคการใช้

ทรัพยากรที่มีอยู่

จำกัดได้อย่างมี

ประสิทธิภาพและ คุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต อย่างมีดุลยภาพ

ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อ การผลิตและการ เลือกใช้สินค้าและ บริการ มักจะเกี่ยว ข้องกับพฤติกรรม ของผู้บริโภค ซึ่งจะ สัมพันธ์กับรายได้

รสนิยม การโฆษณา สภาพดินฟ้าอากาศ ซึ่งในการผลิตสินค้า และบริการของ ท้องถิ่นพื้นที่ จะมี

ความแตกต่างกัน

.ประเมินใบงาน รายบุคคล 2.แบบประเมิน แผนภาพ 3.แบบประเมิน พฤติกรรมกลุ่ม

2 ชั่วโมง

98 ตารางที่ 5 (ต่อ)

ชื่อหน่วย แผนที่ ชื่อเรื่อง ตัวชี้วัด สาระสำคัญ การประเมิน เวลา เศรษฐศาสตร์

น่ารู้

3 หน้าที่

เบื้องต้น ของ ธนาคาร

ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทาง เศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจและความ จำเป็นของการร่วมมือ กันทางเศรษฐกิจใน สังคมโลก

ธนาคารเป็นองค์กร ที่ทำหน้าที่รับฝาก เงิน ถอนเงิน และ ให้กู้ยืมเงินเป็นหลัก และมีหน้าที่อื่น แตกต่างกันไปตาม ลักษณะของ ธนาคารแต่ละ ประเภท

1.ประเมินใบ งานรายบุคคล 2.แบบประเมิน ผังความคิด 3.แบบประเมิน พฤติกรรมกลุ่ม

2 ชั่วโมง

4 การฝาก เงิน การ ถอนเงิน การกู้ยืม เงิน

ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทาง เศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจและความ จำเป็นของการร่วมมือ กันทางเศรษฐกิจใน สังคมโลก

การฝากเงินมีหลาย ประเภท ซึ่งแต่ละ ประเภทจะได้รับ ดอกเบี้ยแตกต่าง กัน จะต้องปฏิบัติ

ตามขั้นตอนอย่าง ถูกต้องการถอนเงิน เป็นการนำเงินที่ได้

ฝากไว้ออกจาก ธนาคาร เพื่อ นำไปใช้ตามความ ประสงค์

การกู้ยืมคือเงิน การที่บุคคลหนึ่ง (ผู้

กู้) ได้ยืมเงินจากอีก บุคคลหนึ่งผู้ (ให้กู้) เพื่อนำไปใช้

1.ประเมินใบ งานรายบุคคล 2.แบบประเมิน ผังความคิด 3.แบบประเมิน พฤติกรรมกลุ่ม

2 ชั่วโมง

99 ตารางที่ 5 (ต่อ)

ชื่อหน่วย แผนที่ ชื่อเรื่อง ตัวชี้วัด สาระสำคัญ การประเมิน เวลา เศรษฐศาสตร์

น่ารู้

ประโยชน์ตาม วัตถุประสงค์ที่

ต้องการ โดยผู้กู้

สัญญาว่าจะนำเงินที่

ยืมนั้นมาคืนภายใน ระยะเวลาที่กำหนด ตกลงกันไว้ตาม สัญญากู้ยืมพร้อมกับ ชำระดอกเบี้ยตาม เงื่อนไขที่ตกลงกันไว้

5 เศรษฐกิจ พอเพียง และการ ปฏิบัติตน ตามแนว เศรษฐกิจ พอเพียง ระดับ ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน

ส 3.1 เข้าใจและ สามารถบริหาร จัดการทรัพยากรใน การผลิตและการ บริโภคการใช้

ทรัพยากรที่มีอยู่

จำกัดได้อย่างมี

ประสิทธิภาพและ คุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต อย่างมีดุลยภาพ

ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมีหลักการ สำคัญให้ประชาชน ดำเนินชีวิตอยู่บน ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมี

ภูมิคุ้มกันในตัว การ นำแนวคิดของ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไป

ประยุกต์ใช้ในการทำ กิจกรรมต่างๆ ใน ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ย่อมส่งผล ให้การดำเนินชีวิต เป็นไปอย่างพออยู่

พอกิน พอใช้ และมี

ความสุข

1.ประเมินใบ งานรายบุคคล 2.แบบประเมิน โครเรื่อง 3.แบบประเมิน พฤติกรรมกลุ่ม 4.ประเมิน ความคิด สร้างสรรค์

2 ชั่วโมง

100 ตารางที่ 5 (ต่อ)

ชื่อหน่วย แผนที่ ชื่อเรื่อง ตัวชี้วัด สาระสคัญ การประเมิน เวลา

6 สหกรณ์ ส 3.1 เข้าใจและ สามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรในการผลิต และการบริโภคการใช้

ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้

อย่างมีประสิทธิภาพและ คุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อการ ดำรงชีวิตอย่างมีดุลย ภาพ

สหกรณ์มี

หลักการและ ขั้นตอนการ ดำเนินงานที่มุ่ง ประโยชน์ต่อ สมาชิกทุกคนและ เป็นพื้นฐานสำคัญ ในการพัฒนา ชุมชนและ ประเทศ

1.ประเมินใบ งานรายบุคคล 2.แบบประเมิน หนังสือเล่มเล็ก 3.แบบประเมิน พฤติกรรมกลุ่ม 4.ประเมิน ความคิด สร้างสรรค์

2 ชั่วโมง

1.3 ศึกษาหลักการ วิธีการ และเทคนิควิธีสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ จากเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง เศรษฐศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

1.4 สร้างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์

เรื่องเศรษฐศาสตร์ ชั้นประศึกษาปีที่ 5 โดยจะมีขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ ขั้นตอน ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ ขั้นตอนที่ 2 ตั้งปัญหาและแบ่งกลุ่มตามความสนใจ ขั้นตอนที่ 3 ค้นคว้าและ คิด ขั้นตอนที่ 4 นำเสนอ ขั้นตอนที่ 5 ประเมินผล ซึ่งแต่ละขั้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (วิริยะ ฤาชัย พานิชย์, 2558) โดยกำหนดหัวข้อในการทำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ (อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2553)

1. มาตรฐานการจัดการเรียนรู้

2. ตัวชี้วัดชั้นปี

3. สาระสำคัญ

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

5. สาระการเรียนรู้

6. กิจกรรมการเรียนรู้

7. การวัดผลประเมินผล 8. สื่อและแหล่งเรียนรู้

101 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

1.5 นำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง เศรษฐศาสตร์ ชั้นประศึกษาปีที่ 5 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องเชิงเนื้อหา เนื้อหามีความสอดคล้องกับตัวชี้วัด และขอคำแนะนำมาปรับปรุง แก้ไขในส่วนที่ยังบกพร่อง โดยอาจารย์ที่ปรึกษา มีคำแนะนำให้แก้ไขในส่วนของจุดประสงค์การเรียนรู้

1.6 นำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาปรับปรุงตามคำแนะนำและนำแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่แก้ไขแล้วเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน ประกอบด้วย

1.6.1 ผศ.ดร.สาคร อัฒจักร วุฒิการศึกษา Ed.D. (Educational Technology) ตำแหน่งอาจารย์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน

1.6.2 ผศ.ดร.ประสงค์ สายหงษ์ วุฒิการศึกษา Ph.D. (Early Intervention/Early Childhood Special) ตำแหน่งอาจารย์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านความคิดสร้างสรรค์

1.6.3 ดร.จีระนันท์ ปุมพิมาย วุฒิการศึกษา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิจัยและ ประเมินผลการศึกษา) ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ ผู้เชี่ยวชาญด้านวิจัยและประเมินผลการศึกษา

1.6.4 นายชูโชค ชะออน วุฒิการศึกษา การศึกษามาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)

ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน

1.6.5 นางนิตยา กัลยาณี วุฒิการศึกษา การศึกษามาบัณฑิต (หลักสูตรและการ

สอน) ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านหนองจานใต้ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและสื่อ การสอน

โดยให้ผู้เชี่ยวชาญทำการตรวจสอบเกี่ยวกับความเหมาะสมของเนื้อหามีความสอดคล้องกับ องค์ประกอบต่าง ๆ ของแผนการจัดกิจกรรม ข้อเสนอแนะและประเมินผล ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมิน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามเกณฑ์การประเมินค่า 5 ระดับ (มนตรี วงษ์สะพาน, 2563) ดังนี้

คะแนน 5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด คะแนน 4 หมายถึง เหมาะสมมาก คะแนน 3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง คะแนน 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย คะแนน 1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด