• Tidak ada hasil yang ditemukan

ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท เอบีบี จำกัด = EMPLOYEES’ SATISFACTION IN ABB LIMITED

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท เอบีบี จำกัด = EMPLOYEES’ SATISFACTION IN ABB LIMITED"

Copied!
91
0
0

Teks penuh

(1)

EMPLOYEES’ SATISFACTION IN ABB LIMITED

พรภัทร์ รุ่งมงคลทรัพย์

PORNPAT RUNGMONGKOLSAP

การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ส าหรับนักบริหาร

วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ปีการศึกษา 2556

(2)

EMPLOYEES’ SATISFACTION IN ABB LIMITED

พรภัทร์ รุ่งมงคลทรัพย์

PORNPAT RUNGMONGKOLSAP

การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ส าหรับนักบริหาร

วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ปีการศึกษา 2556

(3)

PORNPAT RUNGMONGKOLSAP

AN INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR EXECUTIVE

MASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION PROGRAM GRADUATE COLLEGE OF MANAGEMENT

SRIPATUM UNIVERSITY

ACADAMIC YEAR 2013

(4)

EMPLOYEES’ SATISFACTION IN ABB LIMITED นักศึกษา พรภัทร์ รุ่งมงคลทรัพย์ รหัสประจ าตัว 55830169 หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ส าหรับนักบริหาร คณะ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์

คณะกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระ

... กรรมการ (รองศาสตราจารย์นิพัทธ์ จิตรประสงค์)

... กรรมการ (ดร.ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์)

วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม อนุมัติให้นับการค้นคว้า อิสระ ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต

คณบดีวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ ...

(ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.วิชิต อู่อ้น) วันที่...เดือน………..……..พ.ศ………

(5)

หัวข้อเรื่อง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด นักศึกษา พรภัทร์ รุ่งมงคลทรัพย์ รหัสประจ าตัว 55830169

อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ประเสริฐ สิทธิจิรพัฒน์

หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ส าหรับนักบริหาร คณะ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ปีการศึกษา 2556

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่อง ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ พนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด และเปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด โดยจ าแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ต าแหน่งงาน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และระยะเวลาการปฏิบัติงานกลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานบริษัทเอบีบีจ ากัด ส านักงานใหญ่จ านวน 195 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ระบบคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติ SPSS เพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานT-testและ F-test (One way ANOVA)โดยก าหนดระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผลการวิจัยพบว่า

1. ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัตงานของพนักงานโดยรวมอยู่ใน ระดับมากเมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน 6 ด้าน ความพึงพอใจในด้านลักษณะงานมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ 3.83 รองลงมาได้แก่ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา ด้านนโยบายและการ ปกครองบังคับบัญชาด้านความมั่งคงในงานด้านความก้าวหน้าในต าแหน่งงานตามล าดับ และ ความพึงพอใจในด้านค่าจ้างและสวัสดิการ มีค่าเฉลี่ยต ่าสุดคือ 3.63

2. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฎิบัติงานพบว่า พนักงานที่มี เพศ ระดับการ ศึกษารายได้เฉลี่ยต่อเดือนระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ไม่แตกต่างกันส่วนพนักงานที่มีอายุต าแหน่งหน้าที่ปัจจุบันแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

(6)

กิตติกรรมประกาศ

การค้นคว้าอิสระฉบับนี้ส าเร็จลุล่วงด้วยความกรุณาอย่างสูงของดร.ประเสริฐ สิทธิ

จิรพัฒน์ อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าแบบอิสระที่ได้เสียสละเวลาในการให้ความรู้ค าแนะน าและ ค าปรึกษาที่มีประโยชน์ต่อการศึกษา อีกทั้งให้ความช่วยเหลือในการตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่อง ต่างๆ ซึ่งผู้จัดท าขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมาณโอกาสนี้

ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ได้มอบความรู้ เพิ่มเติมเชาว์ปัญญาซึ่งจะน าไปใช้

ให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานต่อไป และขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ของหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิตส าหรับนักบริหารมหาวิทยาลัยศรีปทุมวิทยาคารพญาไท ทุกท่านที่ได้ให้ความช่วยเหลือ อ านวยความสะดวก เกี่ยวกับการเรียนและการสอบมาโดยตลอด

นอกจากนี้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณพนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด ทุกคน ที่ให้ความร่วมมือใน การตอบแบบสอบถาม รวมถึงขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ค าปรึกษาและค าแนะน า ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้

ท้ายที่สุดนี้ ข้าพเจ้าหวังว่าการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานที่

เกี่ยวข้องตลอดจนผู้ที่สนใจข้อมูลหากมีสิ่งใดขาดตกบกพร่องผู้จัดท าขออภัยเป็นอย่างสูงใน ข้อบกพร่องและความผิดพลาดนั้น

พรภัทร์ รุ่งมงคลทรัพย์

เมษายน 2557

(7)

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย………...………...….... I กิตติกรรมประกาศ………...…….. II

สารบัญ………...……... III

สารบัญตาราง………...…...………... V สารบัญภาพ………...…………... VIII บทที่

1 บทน า………...…...… 1

ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา………...………… 1

วัตถุประสงค์ของการศึกษา………...……... 2

กรอบแนวคิดในการศึกษา………...……….. 3

สมมติฐานการศึกษา………...………... 3

ขอบเขตการศึกษา………...………... 4

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ………...……….…... 4

นิยามศัพท์………...……….…. 4

2 แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง………...……...……... 6

แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน………...……….…... 6

ความหมายของความพึงพอใจ………...…………... 6

องค์ประกอบที่ท าให้เกิดความพึงพอใจในการท างาน…………...………... 7

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน………...….……... 9

ผลของความพึงพอใจและไม่พึงพอใจในการปฏิบัติงาน…………...……... 12

ทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน………...….……. 13

ทฤษฎีล าดับขั้นความต้องการของมนุษย์………...……….….. 13

ทฤษฎีสองปัจจัย………...……….. 14

ทฤษฎีให้ได้มาซึ่งความต้องการ………...…...…….. 16

ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง………...………….. 17

(8)

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หน้า

3 วิธีการด าเนินการศึกษา………...……....…….. 22

รูปแบบการศึกษา………...…...………...…….. 22

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง………...……… 22

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา………...………...……. 23

การเก็บรวบรวมข้อมูล………...……….. 26

การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล…………...…...…… 26

4 การวิเคราะห์ผลการศึกษา………...…... 27

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยพี้นฐานส่วนบุคคล………...…... 27

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของพนักงาน………...…… 30

ตอนที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐาน………...….. 36

5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ………...…...…....……. 61

สรุปผลการวิจัย………...………...……… 61

อภิปรายผล………...………... 65

ข้อเสนอแนะ………...…...……… 68

บรรณานุกรม………...……… 70

ภาคผนวก………...………. 72

ประวัติผู้ศึกษา………...……….….. 79

(9)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า

3.1 จ ำนวนประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำงของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด

จ ำแนกตำมฝ่ำย... 23

3.2 องค์ประกอบของควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำน... 24

4.1 จ ำนวนและร้อยละของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมเพศ... 27

4.2 จ ำนวนและร้อยละของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมอำยุ... 28

4.3 จ ำนวนและร้อยละของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมระดับกำรศึกษำ 28 4.4 จ ำนวนและร้อยละของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำม ต ำแหน่งหน้ำที่ปัจจุบัน... 29

4.5 จ ำนวนและร้อยละของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมรำยได้... 29

4.6 จ ำนวนและร้อยละของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมระยะเวลำ ในกำรปฏิบัติงำน... 30

4.7 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนของระดับควำมพึงพอใจ ในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำนด้ำนลักษณะงำน... 30

4.8 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนของระดับควำมพึงพอใจ ในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำนด้ำนควำมสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงำน และผู้บังคับบัญชำ... 31

4.9 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนของระดับควำมพึงพอใจ ในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำนด้ำนค่ำจ้ำงและสวัสดิกำร... 32

4.10 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนของระดับควำมพึงพอใจ ในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำนด้ำนควำมก้ำวหน้ำในต ำแหน่งงำน... 33

4.11 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนของระดับควำมพึงพอใจ ในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำนด้ำนควำมมั่นคงในงำน... 34

4.12 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนของระดับควำมพึงพอใจใน กำรปฏิบัติงำนของพนักงำนด้ำนนโยบำยและกำรปกครองบังคับบัญชำ... 34

4.13 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนของระดับควำมพึงพอใจใน กำรปฏิบัติงำนของพนักงำนโดยรวม... 35

4.14 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน จ ำแนกตำมเพศ... 36

(10)

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หน้า

4.15 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมอำยุในด้ำนลักษณะงำน... 38 4.16 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมอำยุในด้ำนควำมสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงำน

และผู้บังคับบัญชำ... 38 4.17 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมอำยุในด้ำนค่ำจ้ำงและลักษณะงำน... 39 4.18 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมอำยุในด้ำนต ำแหน่งงำน... 39 4.19 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมอำยุในด้ำนควำมมั่นคงในงำน... 40 4.20 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำนบริษัท

เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมอำยุในด้ำนนโยบำยและกำรปกครองบังคับบัญชำ... 40 4.21 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมอำยุในภำพรวม... 41 4.22 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนลักษณะงำน

ของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด เป็นรำยคู่จ ำแนกตำมอำยุ... 41 4.23 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนควำมสัมพันธ์

กับเพื่อนร่วมงำนและผู้บังคับบัญชำของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด

เป็นรำยคู่จ ำแนกตำมอำยุ... 42 4.24 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนค่ำจ้ำงและ

สวัสดิกำรของพนักงำนบริษัทเอบีบีจ ำกัดเป็นรำยคู่จ ำแนกตำมอำยุ... 43 4.25 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนควำมก้ำวหน้ำ

ในต ำแหน่งของพนักงำนบริษัทเอบีบีจ ำกัดเป็นรำยคู่จ ำแนกตำมอำยุ... 44 4.26 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนนโยบำยและ

กำรปกครองบังคับบัญชำของพนักงำนบริษัทเอบีบีจ ำกัดเป็นรำยคู่

จ ำแนกตำมอำยุ... 44

(11)

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หน้า

4.27 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนโดยรวมของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด เป็นรำยคู่จ ำแนกตำมอำยุ... 45 4.28 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมระดับกำรศึกษำ... 46 4.29 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนลักษณะงำนของ

พนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด เป็นรำยคู่จ ำแนกตำมระดับกำรศึกษำ... 47 4.30 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนควำมมั่งคงในงำน

ของพนักงำนบริษัท เอบีบี จ ำกัด เป็นรำยคู่จ ำแนกตำมระดับกำรศึกษำ... 48 4.31 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำนจ ำแนก

ตำมต ำแหน่งหน้ำที่ปัจจุบัน... 49 4.32 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมรำยได้เฉลี่ยต่อเดือน... 50 4.33 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนของพนักงำน

บริษัท เอบีบี จ ำกัด จ ำแนกตำมระยะเวลำในกำรปฏิบัติงำน... 52 4.34 กำรเปรียบเทียบระดับควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนค่ำจ้ำงและ

สวัสดิกำรของพนักงำนบริษัทเอบีบีจ ำกัดเป็นรำยคู่จ ำแนกตำมระยะเวลำ

ในกำรปฏิบัติงำน... 54 4.35 สรุปผลกำรทดสอบสมมติฐำน... 54

(12)

สารบัญภาพ

ภาพประกอบที่ หน้า

1 กรอบแนวคิดในการศึกษา…...……….. 3

(13)

บทน ำ

ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

ในปัจจุบันองค์กรต่างๆ ต่างให้ความส าคัญต่อทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งถือว่า “คน” เป็น ทุนมนุษย์ที่มีความส าคัญที่สุด องค์กรจะสามารถท างานบรรลุเป้าหมายได้หรือไม่นั้น ย่อมขึ้นอยู่กับ

มนุษย์ เพราะมนุษย์เป็นผู้ก าหนดเป้าหมาย วางแผน และลงมือปฏิบัติ ดังนั้นงานส าคัญอย่างหนึ่ง

ของผู้บริหารก็คือ การเอาใจใส่ดูแลและกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนท างานอย่างดีที่สุด ส่วนผู้ปฏิบัติงานก็ต้องท างาน เพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองและองค์กร แต่การที่จะ

ท างานให้ได้ผลการปฏิบัติดีนั้น ผู้ปฏิบัติงานแต่ละบุคคลย่อมท าได้แตกต่างกันไป แม้ว่าพวกเขาจะมี

ความสามารถเท่าเทียมกันและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมือนกัน แต่ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เป็นตัวก าหนด พฤติกรรมและผลงานของเขาก็คือ ควำมพีงพอใจในกำรปฏิบัติงำน ซึ่งตรงกับความต้องการของ พนักงานและตรงตามวัตถุประสงค์ขององค์กร (ณัฐวุฒิ ชมภูพงษ์, 2553, หน้า 7)

ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความรู้สึกพอใจในงานที่ท าและเต็มใจที่จะ ปฏิบัติงานนั้นให้ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร คนจะรู้สึกพอใจในงานที่ท าเมื่องานนั้นให้

ผลประโยชน์ตอบแทนทั้งทางด้านวัตถุและทางด้านจิตใจ เพื่อสามารถสนองความต้องการขั้น พื้นฐานของเขาได้ (Struass and Sayles, 1960, หน้า 19 อ้างถึงในกิติมา ปรีดีดิลก 2529, หน้า 321) จากค ากล่าวที่ว่า “ความพึงพอใจในการท างานของบุคคลในองค์กร มีผลต่อความส าเร็จของงาน และองค์กรนั้นเป็นอย่างมาก” ของปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2543, หน้า 124) ได้อธิบายว่า องค์กร

ใดก็ตาม หากบุคลากรในองค์กรไม่มีความพึงพอใจในการท างาน ก็จะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท าให้

ผลงานและการปฏิบัติงาน ตกต ่า คุณภาพลดลง มีปัญหาด้านวินัย แต่ในทางตรงกันข้าม หากองค์กร มีบุคลากรที่มีความพึงพอใจในการท างานสูง จะมีผลทางบวกต่อการปฏิบัติงาน ดังนั้น องค์กรจึง ควรที่จะต้องพิจารณาว่าปัจจัยอะไรบ้าง ที่มีส่วนส าคัญในการสร้างความรู้สึก การมีส่วนร่วม สร้าง ความผูกพัน สร้างขวัญและก าลังใจให้เกิดแก่บุคลากร ทั้งนี้ เพื่อเป็นการสร้างความพึงพอใจในการ ที่จะส่งเสริมให้พนักงานปฏิบัติงานได้อย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้

องค์กรประสบความส าเร็จตามเป้าหมาย

ประวัติศาสตร์ของกลุ่มบริษัท เอบีบี เริ่มขึ้นเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 ซึ่งนับว่าเป็นบันทึกที่

ยาวนานกว่า 120 ปี เอบีบี มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ในด้านเทคโนโลยีพลังงานและ

(14)

ระบบอัตโนมัติ และมีการใช้พลังงานทดแทนในการผลิตผลิตภัณฑ์และสร้างนวัติกรรมที่ทันสมัย

อย่างต่อเนื่อง ทั้งยังมีส่วนช่วยประเทศต่างๆ ทั่วโลกในการสร้าง พัฒนาและรักษาโครงสร้าง พี้นฐาน (Infrastructures) อีกด้วย

บริษัท เอบีบี จ ากัด เป็นบริษัทข้ามชาติมีส านักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองซูริคประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ และมีพนักงานประมาณ 139,000 คนในกว่า 100 ประเทศ เอบีบีเกิดขึ้นจากการ รวมตัวกันของ 2 บริษัท ผู้น าทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าคือ อาเซียอาจ ากัด (ASEA) จากประเทศ สวีเดนและบริษัท บีบีซี บราวน์ โบเวอรี่ จ ากัด (Brown Bervery Company, BBC) จากประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจซี้อขายผลิตจ าหน่ายสินค้าเครื่องจักรและอุปกรณ์ไฟฟ้า ส าหรับก าเนิดส่งจ่าย และที่ใช้พลังงานไฟฟ้าทุกชนิด เครื่องมือกล เครื่องยนต์ เครื่องสูบน ้า เครื่องมือไฟฟ้า อุปกรณ์ควบคุมระบบอัตโนมัติ เตาหลอมไฟฟ้า อุปกรณ์ส าหรับโรงไฟฟ้า อุปกรณ์

ไฟฟ้าแรงสูงแรงต ่า กังหันแก๊สพลังน ้าพลังไอน ้า อุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย รวมถึงชิ้นส่วนและ ส่วนประกอบของสินค้า เครื่องจักรและอุปกรณ์ไฟฟ้าดังกล่าว รวมทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ส าหรับที่ใช้ในอุตสาหกรรมและพาณิชย์กรรมทุกประเภท จากความส าเร็จอันยาวนานของบริษัทฯ กับการเป็นหนึ่งในบริษัทวิศวกรรมชั้นน าของโลกนั้น กล่าวได้ว่า ปัจจัยที่ส าคัญที่สุดในความยั่งยืน ก็คือทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งองค์กรจะเจริญก้าวหน้าและอยู่รอดได้นั้น บุคลากรในองค์กรจะต้องมี

ประสิทธิภาพในการท างาน ซึ่งต้องมาจากความพึงพอใจในการปฏิบัติงานนั่นเอง

ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจในการศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท เอบีบี จ ากัด เพื่อน าไปเป็นแนวทางการปรับปรุงพัฒนารูปแบบการด าเนินการของบริษัทฯ ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับปัจจัยต่างๆ เพื่อสร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้นกับพนักงานมาก ขึ้นเป็นการสร้างขวัญและก าลังใจให้พนักงานสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะ ส่งผลให้บริษัทฯ เติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป

วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ

1. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด 2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด โดย จ าแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล

(15)

กรอบแนวควำมคิดในกำรศึกษำ

จากแนวคิดทฤษฎี และผลงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ผู้วิจัยได้

สรุปกรอบ แนวคิดในการศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัตงานของพนักงานบริษัทเอบีบี จ ากัด ดังนี้

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตำม

ปัจจัยพื้นฐำนส่วนบุคคล ควำมพึงพอใจในกำรปฏิบัติงำน

1. เพศ 1. ด้านลักษณะงาน

2. อายุ 2. ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา 3. ระดับการศึกษา 3. ด้านค่าจ้างและสวัสดิการ

4. ต าแหน่งงาน 4. ด้านความก้าวหน้าในต าแหน่งงาน 5. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5. ด้านความมั่นคงในงาน

6. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 6. ด้านนโยบายและการปกครองบังคับบัญชา ภำพประกอบที่ 1 กรอบแนวความคิดในการศึกษา

สมมติฐำนกำรศึกษำ

พนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด ที่มีปัจจัยพี้นฐานส่วนบุคคลแตกต่างกัน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านลักษณะงาน ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา

ด้านค่าจ้างและสวัสดิการ ด้านความก้าวหน้าในต าแหน่งงาน ด้านความมั่นคงในงาน ด้านนโยบาย และการปกครองบังคับบัญชาแตกต่างกัน

ตัวแปรที่ใช้ในกำรวิจัย

1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลประกอบด้วย 1.1 เพศ

1.2 อายุ

1.3 ระดับการศึกษา 1.4 ต าแหน่งงาน

(16)

1.5 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 1.6 ระยะเวลาการปฏิบัติงาน

2. ตัวแปรตำม ได้แก่ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานประกอบด้วย 2.1 ด้านลักษณะงาน

2.2 ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา 2.3 ด้านค่าจ้างและสวัสดิการ

2.4 ด้านความก้าวหน้าในต าแหน่งงาน 2.5 ด้านความมั่นคงในงาน

2.6 ด้านนโยบายและการปกครองบังคับบัญชา ขอบเขตกำรศึกษำ

1. ขอบเขตเนื้อหาการศึกษาในครั้งนี้มุ่งศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ใน แต่ละด้านของพนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด

2. กลุ่มตัวอย่าง คือพนักงานบริษัทเอบีบีจ ากัด ส านักงานใหญ่ จ านวน 195 คน 3. ระยะเวลาศึกษาในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม พ.ศ.2557

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

1. เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนารูปแบบการบริหาร และการด าเนินงานของ

บริษัทฯ ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน เพื่อการสร้างความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานให้แก่พนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด

2. เพื่อใช้เป็นแนวทางส าหรับผู้ที่สนใจศึกษาหาความรู้ ตลอดจนนิสิตนักศึกษา เพื่อเป็น แบบอย่างในการศึกษาต่อไป

นิยำมศัพท์

บริษัทฯ หมายถึง บริษัท เอบีบี จ ากัด

พนักงำน หมายถึง พนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด

ควำมพึงพอใจในกำรท ำงำน (Job Satisfaction) หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดหรือทัศนคติ

ในทางที่ดีของบุคคลที่มีต่อองค์ประกอบต่างๆ ของงานและผู้ปฏิบัติงานนั้น ได้รับการตอบสนอง ความต้องการทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ท าให้บุคคลเกิดความพึงพอใจในการท างานและส่งผล ให้การท างานบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

(17)

ด้ำนลักษณะงำน หมายถึง ภาระหน้าที่ที่ได้ปฏิบัติและรับผิดชอบอยู่ ซึ่งเป็นงานที่

เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ ตรงกับความช านาญหรือประสบการณ์ที่มีอยู่ และสามารถใช้

ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงาน

ด้ำนควำมสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงำนและผู้บังคับบัญชำ หมายถึง ความรู้สึกและการ แสดงออกที่มีต่อเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชาในที่ท างานเดียวกัน โดยมีความเกี่ยวข้องกันใน

ทั้งด้านส่วนตัวหรือหน้าที่การงานที่ท า การให้ความร่วมมือกัน เพื่อน าไปสู่ความส าเร็จของงาน มีการให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การได้รับการยอมรับนับถือ รวมถึงการแสดงความยินดีใน

โอกาสต่าง ๆ

ด้ำนค่ำจ้ำงและสวัสดิกำร หมายถึง เงินที่ได้รับเป็นประจ าทุกเดือน รวมทั้งเงินค่าจ้าง และ เงินสวัสดิการที่ได้รับ เงินช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ

ด้ำนควำมก้ำวหน้ำในต ำแหน่งงำน หมายถึง โอกาสในการได้รับการเลื่อนต าแหน่งให้

สูงขึ้น โอกาสได้ศึกษาต่อหรือดูงานเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมทั้งในและนอกประเทศ หรือโอกาสใน การได้ไปท างานประจ าสาขาต่างประเทศ

ด้ำนควำมมั่นคงในงำน หมายถึง ความรู้สึกของพนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด ที่มีต่อ ลักษณะงานในด้านความมั่นคงในงาน ระยะเวลาการจ้าง อายุงาน

ด้ำนนโยบำยและกำรปกครองบังคับบัญชำ หมายถึง กรอบแนวคิดในการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของบริษัท เอบีบี จ ากัด การมอบหมายงาน การติดต่อสื่อสารภายในบริษัทฯ การให้ค าปรึกษา แนะน า ช่วยเหลือ รวมถึงการควบคุม ก ากับดูแล และติดตามประเมินผลอย่าง เที่ยงตรงและยุติธรรมต่อบุคลากรในบริษัท เอบีบี จ ากัด

(18)

แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท เอบีบี จ ากัด ได้ศึกษา แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ดังนี้

1. แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 2. ทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 3. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

1. แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 1.1 ความหมายของความพึงพอใจ

แนวคิดและความหมายที่เกี่ยวกับความพึงพอใจในการท างาน มีนักวิชาการหลายท่านได้

ให้นิยามและความหมายไว้แตกต่างกันหลากหลาย ดังนี้

อัจจิมา หอมระรื่น (2552, หน้า 7) ได้ให้ความหมายไว้ว่าความพึงพอใจในงาน หมายถึง ทัศนคติ หรือ ความรู้สึกชอบ หรือ ไม่ชอบของผู้ปฏิบัติงาน และผลของความไม่พึงพอใจ จะท าให้

บุคคลเกิดความรู้สึก โดยแสดงออกมาเป็นความสนใจกระตือรือร้น เต็มใจ สนุกร่าเริงกับงานที่ท า และมีความรับผิดชอบ มุ่งมั่นท างานจนส าเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

มนชัย อรพิมพ์ (2550, หน้า 10) ได้ให้ความหมายไว้ว่าความพึงพอใจในการท างาน หมายถึงทัศนคติของบุคคลที่มีต่อการท างานในทางบวกต่องานที่ท าอยู่ และปัจจัยแวดล้อมต่างๆ โดยเกิดจากองค์ประกอบหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อมการท างาน กระบวนการท างาน ความสัมพันธ์กับบุคคลในหน่วยงาน และค่าตอบแทน ซึ่งมีผลต่อบุคคลท าให้เกิดแรงกระตือรือร้น ต่อการท างาน มีขวัญและก าลังใจที่ดี มุ่งมั่นสร้างสรรค์ให้กับองค์การให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

แพรพรรณ ทูลธรรม (2546, หน้า 29) สรุปความหมายของความพึงพอใจว่า หมายถึง ความรู้สึกของบุคคล ซึ่งจะแสดงออกมาในด้านบวกหรือลบได้นั้นจะมีความสัมพันธ์กับการที่

คนๆ นั้นได้รับการตอบสนองต่อสิ่งที่ต้องการซึ่งความรู้สึกพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลนั้นได้รับหรือ บรรลุจุดหมายในสิ่งที่ต้องการในระดับหนึ่ง และความรู้สึกดังกล่าวจะลดลงหรือไม่นั้น จะเกิดขึ้น เมื่อความต้องการหรือจุดหมายนั้นๆ ไม่ได้รับการตอบสนอง

กาญจนา อรุณสุขรุจี (2546, หน้า 5) กล่าวว่า ความพึงพอใจของมนุษย์ เป็นการแสดงออก ทางพฤติกรรมที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปร่างได้ การที่เราจะทราบว่าบุคคลนั้น มี

ความพึงพอใจหรือไม่ สามารถสังเกตจากการแสดงออกที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน และต้องมีสิ่งเร้าที่

(19)

ตรงต่อความต้องการของบุคคล จึงจะท าให้บุคคลเกิดความพึงพอใจ ดังนั้น การสร้างสิ่งเร้าจึงเป็น แรงจูงใจของบุคคลนั้น ให้เกิดความพึงพอใจในงาน

บุญช่วย ไชยเมืองชื่น (2547, หน้า 24) ได้ให้ความหมาย ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ว่าความรู้สึกหรือทัศนคติที่ดีของบุคคลที่มีต่อการการปฏิบัติงานซึ่งเกิดได้จากการได้รับการ ตอบสนองความต้องการในปัจจัยต่างๆในการปฏิบัติงานท าให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความ เต็มใจและเต็มความสามารถ ซึ่งก่อให้เกิดประสิทธิภาพจนบรรลุเป้าหมายและบรรลุวัตถุประสงค์

ขององค์กร

นงนุช เอี่ยมสวัสดิ์ (2547, หน้า 24) ได้สรุป ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานว่า ความพึง พอใจในการปฏิบัติงานเป็นปัจจัยส าคัญของนักการตลาด ท าให้งานส าเร็จ ท าให้ตั้งใจท างาน ขยัน มี

ความรับผิดชอบเสียสละ มีความร่วมมือ และสมานสามัคคีต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และสภาพแวดล้อมความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน เกิดจากความ ต้องการของบุคคลที่ต้องการความส าเร็จของงานการยอมรับของผู้อื่น การปฏิบัติของผู้น าต่อ ผู้ใต้บังคับบัญชา การมอบหมายงาน เงินเดือนผลตอบแทน การสร้างบรรยากาศในการท างาน ความสัมพันธ์ของผู้ร่วมงาน

จากความหมายของความพึงพอใจในการปฏิบัติงานดังกล่าว พอสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงาน หมายถึง การที่บุคคลมีความรู้สึกหรือทัศนคติที่ดีต่องาน และถ้าได้รับการ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ปฏิบิติงานแล้ว ผู้ปฏิบัติงานจะมีความพึงพอใจมากยิ่งขึ้น

1.2 องค์ประกอบที่ท าให้เกิดความพึงพอใจในการท างาน

ตามแนวคิดของ Edwin Locke (1968 อ้างในวิจารณ์ คงคาน้อย, 2547, หน้า 10-11) ได้

จ าแนกองค์ประกอบไว้ทั้งหมด 9 ด้าน ดังนี้

1. งาน (Work)เป็นองค์ประกอบอันดับแรกที่ท าให้คนพอใจหรือไม่พอใจ หมายถึง คนนั้นชอบงานหรือไม่ ถ้าชอบและการสนใจก็จะมีความพอใจในงานสูง นอกจากนี้งานนั้นท้าทาย หรืองานนั้น มีโอกาสให้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้หรือไม่ หรืองานนั้นยากง่ายเหมาะสมกับคนท าหรือไม่

ปริมาณงานมากเวลาน้อย หรืองานนั้นส่งเสริมให้ผู้ท ามีโอกาสเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้หรือไม่ ส่งเสริม ให้ผู้ท ามีโอกาสประสบความส าเร็จหรือไม่ เป็นต้น

2. ค่าจ้าง (Pay) เป็นเงินหรืออย่างหนึ่งอย่างใด ที่ลูกจ้างสามารถน าไปใช้เป็นเครื่องมือใน การบ าบัดความต้องการของตน ได้ค่าจ้างเหมาะสม ยุติธรรม และเท่าเทียมกัน จะท าให้คนเกิดความ พอใจ

3. โอกาสที่จะได้รับการเลื่อนขั้นหรือเลื่อนต าแหน่ง (Promotion) ลูกจ้างหรือคนท างาน จะได้รับพิจารณาเลื่อนขั้น หรือเลื่อนต าแหน่งสูงขึ้นไป ซึ่งสิ่งนี้คือ ความหวังที่จะได้รับจากนายจ้าง

(20)

หรือผู้บริหาร ซึ่งในการเลื่อนขั้นหรือต าแหน่งต้องพิจารณาถึงความยุติธรรมและเป็นเกณฑ์ที่ทุกคน ยอมรับได้

4. การยอมรับ(Recognition) การยอมรับจากผู้บังคับบัญชาหรือผู้บริหาร และเพื่อน ร่วมงานเป็นสิ่งที่บุคคลท างานต้องการ และท าให้เกิดความพึงพอใจได้

5. ผลประโยชน์ (Benefit) ผลประโยชน์หรือสิ่งตอบแทนที่บุคคลรับหรือคาดหวังจะ ได้รับจากการท างาน เช่น โบนัส วันหยุดพักผ่อน ค่ารักษาพยาบาล เป็นต้น

6. สภาพการท างาน (Working Conditions) ที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมในการท างาน

ด้านกายภาพ เช่น อุณหภูมิการถ่ายเทอากาศความชื้นแสงเสียง สภาพห้องท างาน ที่ตั้งองค์การ เป็นต้น

7.หัวหน้าหรือผู้บังคับบัญชา(Leader)หัวหน้าลักษณะต่างๆ จะมีอิทธิพลต่อผู้อยู่ใต้บังคับ บัญชาเช่น หัวหน้าที่มุ่งงานมากก็จะคาดหวังให้ลูกน้องมุ่งงานอย่างเดียว จนหัวหน้าขาดมนุษย สัมพันธ์ ซึ่งลูกน้องที่พบหัวหน้าประเภทนี้ จะเกิดความพึงพอใจในการท างานหรือไม่พึงพอใจก็

ต้องขึ้นอยู่กับการปรับตัวของลูกน้องเป็นส าคัญ

8. เพื่อนร่วมงาน (Co-workers) จะส่งเสริมหรือหยุดยั้งความพึงพอใจในการท างานของ บุคคลได้อย่างมาก เช่น ถ้าหากมีเพื่อนร่วมงานที่มีความสามารถสูงเป็นมิตร พร้อมช่วยเหลือคนอื่น บุคคลนั้นก็จะเกิดความพึงพอใจในการท างานมากกว่าคนอื่น

9. องค์การและการจัดการหรือการบริหาร (Organization and management) นโยบายและ การจัดการหรือการบริหารภายในองค์การที่ส าคัญประการหนึ่ง เช่น มีการวางแผนนโยบายแน่นอน หรือไม่ เกี่ยวกับการจ่ายค่าแรงสวัสดิการลูกจ้าง หรือ เกณฑ์พิจารณาความดีความชอบ เป็นต้น

นอกจากนี้ Ghiselli และ Brown (1955, อ้างใน ยุวนิต ฉายสุวรรณ, 2548, หน้า 6) ได้

อธิบายว่า องค์ประกอบ ที่ก่อให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความพึงพอใจมีอยู่ 5 ประการ คือ

1. ระดับอาชีพ หากอาชีพนั้นอยู่ในสถานะสูงเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไปก็จะเป็นที่พอใจ ของผู้ประกอบอาชีพนั้นๆ

2. สถานะทางสังคม การได้รับต าแหน่งที่ดีหรือได้รับการยกย่องจากผู้ร่วมงานก็จะเกิด ความพึงพอใจในการท างานนั้น ๆ

3. อายุ ตามความเห็นของ Ghiselli และ Brown นั้น อายุมีทั้งส่วนสัมพันธ์และไม่สัมพันธ์

กับความพึงพอใจ

4. สิ่งจูงใจที่เป็นเงิน ได้แก่ รายได้ประจ า และรายได้พิเศษ

5. คุณภาพของการปกครองบังคับบัญชา ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างหัวหน้างานและ คนงานและการเอาใจใส่ต่อความเป็นอยู่ของคนงาน ซึ่งจะมีผลต่อความพึงพอใจของงาน

(21)

1.3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน

Harrell (1972 อ้างในนิมะหุตาคม, 2541, หน้า 10) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานมีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ สามารถใช้เป็นเครื่องมือบ่งชี้ปัญหาที่

เกิดขึ้นเกี่ยวกับความพึงพอใจในการท างานปัจจัยเหล่านี้มี 3 ประการดังนี้

1. ปัจจัยด้านบุคคล (Personal Factor) 2. ปัจจัยด้านงาน (Factor in the Job)

3. ปัจจัยด้านการจัดการ (Factor Controllable)

ปัจจัยด้านบุคคล (Personal Factor) คุณลักษณะส่วนตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องกับงาน ได้แก่

1. ประสบการณ์จากผลการวิจัย พบว่า ประสบการณ์ในการท างานส่วนที่เกี่ยวข้องกับ ความพึงพอใจในการท างาน บุคคลที่มีระยะเวลาการท างานนาน จนมีความช านาญในงานมากขึ้น จะท าให้เกิดความพึงพอใจในงานที่ท า

2. เพศ มีความเกี่ยวข้องกับลักษณะงานที่ท า ระดับความทะเยอทะยานและความต้องการ ทางการเงิน เพศหญิงมีความอดทนในงานที่ต้องใช้ฝีมือและในงานที่ต้องการ ความละเอียดอ่อน มากกว่าเพศชาย

3. จ านวนสมาชิกในความรับผิดชอบ กลุ่มที่ท างานด้วยกัน มีผลต่อความพึงพอใจในการ

ท างานงานที่ต้องการความรู้และความสามารถที่หลากหลาย ต้องอาศัยสมาชิกที่มีทักษะใน งานหลายๆ ด้านและความปรองดองกันของสมาชิกในกลุ่มในการท างาน จะมีส่วนที่จะน า

ความส าเร็จมาสู่งานที่ท า

4. อายุ มีความเกี่ยวข้องกับระยะเวลาและประสบการณ์ในการท างาน ผู้ที่มีอายุมากมักมี

ประสบการณ์ในการท างานสูงไปด้วย แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับลักษณะงานและสถานการณ์ในการท างาน ด้วย

5. เวลาในการท างาน การท างานในเวลาท างาน จะสร้างความพึงพอใจในงานมากกว่าที่

พนักงานต้องท างานในช่วงเวลาของการพักผ่อนและสังสรรค์กับผู้อื่น

6. เชาว์ปัญญา มีความเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในงาน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และ ลักษณะงานที่ท าโดยงานบางประเภทก็ไม่พบความแตกต่าง แต่งานบางประเภทก็พบความแตกต่าง ระหว่างเชาว์ปัญญาและความพึงพอใจ เช่น งานบางประเภทไม่ต้องใช้ทักษะเชาว์ปัญญาในการ ท างานมากนัก แต่พนักงานเป็นผู้มีเชาว์ปัญญาสูงกว่างานที่รับผิดชอบ ท าให้พนักงานเกิดความเบื่อ หน่าย และมีความรู้สึกทัศนคติที่ไม่ดีต่องานที่ท า ท าให้ขาดความพึงพอใจในการท างาน

7. การศึกษามักไม่แสดงความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการท างานกับระดับ การศึกษา แต่มักจะขึ้นอยู่กับงานที่ท าว่า เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของพนักงานหรือไม่

Referensi

Dokumen terkait

2562 แต่ผลดังกล่าวไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ ผลกระทบร่วมระหว่างจ านวนคนท างานในกิจการของแรงงานนอกระบบกับ ความหนาแน่นของแรงงานต่างชาติ พบว่า แรงงานนอกระบบที่อยู่ในกิจการจ านวน 1-49 คน