• Tidak ada hasil yang ditemukan

รูปแบบเครื่องแต่งกายของเจ้านายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "รูปแบบเครื่องแต่งกายของเจ้านายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6"

Copied!
73
0
0

Teks penuh

(1)

รายงานการวิจัย

เรือง

รูปแบบเครืองแต่งกายของเจ้านายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 6

โดย

นาย เตชิต เฉยพ่วง คณะศิลปกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ปีงบประมาณ 2553

(2)

กิตติกรรมประกาศ

การวิจัยเรือง “รูปแบบเครืองแต่งกายของเจ้านายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที 6” สําเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ทีวางไว้ด้วยความช่วยเหลือสนับสนุนอย่างดียิงจาก หน่วยงานต่างๆ ซึงผู้วิจัยใคร่ขอขอบพระคุณไว้ ณ ทีนี ดังนี

1. มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ทีให้ทุนสนับสนุนงานวิจัย

2. สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ และสํานักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร ทีอํานวยความสะดวก ในการค้นหาข้อมูลต่างๆ ทีใช้ในการวิจัย

เตชิต เฉยพ่วง คณะศิลปกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา 17 เมษายน 2554

(3)

บทคัดย่อ

หัวข้อวิจัย รูปแบบเครืองแต่งกายของเจ้านายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที 6

ชือผู้วิจัย นายเตชิต เฉยพ่วง

คณะ ศิลปกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีทีทําการวิจัย ปีการศึกษา 2553

การวิจัยครั งนี เป็นการวิจัยบริสุทธิ ทีมุ่งค้นหาความรู้ทางวิชาการเพือสร้างองค์ความรู้เกียวกับ รูปแบบเครืองแต่งกายในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นการวิจัยทีใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาภาคเอกสาร การศึกษาภาคสนาม และการศึกษาโดยรับฟัง ความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วนําข้อมูลทีได้จากการศึกษามาวิเคราะห์ในลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ ต้องใช้หลักตรรกศาสตร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั งใช้ข้อมูลตามสภาพทีเป็นจริงโดยไม่มีการควบคุม ตัวแปรในลักษณะการวิจัยเชิงธรรมชาติ จากนั นนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลและผลการวิจัยในลักษณะ การวิจัยเชิงพรรณนา พร้อมภาพประกอบ

ผลการวิจัยพบว่า

1. รูปแบบการแต่งกายของเจ้านายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 6 เป็นรูปแบบเครืองแต่งกายทีประยุกต์มาจากเครืองแต่งกายตะวันตก โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวและบรรดานักเรียนไทยทีจบการศึกษาจากต่างประเทศ ซึงมีแนวคิดอย่างชาวยุโรปเป็นผู้นําเข้ามา เผยแพร่ ภายใต้แนวพระราชนิยม 3 ประการ ได้แก่ ผมยาวเกล้ามวย, นุ่งซิน และฟันขาว

2. รูปแบบการแต่งกายของเจ้านายสตรี เป็นการประยุกต์รูปแบบเครืองแต่งกายของตะวันตก โดยตั งอยู่บนรูปแบบทีมีความใกล้เคียงกัน ได้แก่ ไว้ผมบ๊อบ มีสายคาดศีรษะ เสื อทรงหลวมยาวคลุม สะโพกหรือถึงหัวเข่า สวมทับผ้าซิน คาดทับด้วยเข็มขัดทั งแบบเส้นเล็กและเส้นใหญ่ สวมเครืองประดับ อย่างละหลายชิ น สวมถุงเท้าและรองเท้าแบบเรียบสีเข้ากันกับชุด หากเป็นในงานพระราชพิธี อาจเลือก สวมเครืองแต่งกายแบบตะวันตก ซึงเป็นลักษณะชุดกระโปรงยาวประมาณครึงแข้งหรือข้อเท้า มีการ ตกแต่งเพิมขึ นตามฐานะและความสําคัญของพิธีนั นๆ โดยหากเป็นการเสด็จออกนอกเขตพระราชฐาน จะ นิยมสวมหมวกทั งแบบปีกกว้างและปีกแคบเพิมเติม

(4)

3. ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้านายบุรุษ นิยมสวม

เครืองแต่งกายตามแบบสากลนิยม รวมถึงเครืองแบบทหารตามเหล่าทีสังกัด โดยอาจเป็นแบบครึงยศหรือ เต็มยศ ขึ นอยู่กับความเหมาะสมกับงานนั นๆ ส่วนเครืองแต่งกายลําลอง นิยมสวมเสื อคอกลมกับกางเกง แพรจีน

(5)

Abstract

Title Dress Style of the Royalty in the Reign of King Mongkutklao Rama 6 Authors Taechit Cheuypoung

Faculty Faculty of Fine and Applied Arts

University Suan Sunandha Rajabhat University, 2010

The purpose of this pure research was to investigate and build the knowledge of apparels during the reign of King Mongkutklao or King Rama 6. The qualitative research was use by data collected from both of academic papers and practical investigation. Furthermore, the recommendations of profession advisor and logic statistic analysis were use without naturalistic research variable control. The research results were present by figures and descriptive research.

The results of this research were as follow:

1. The royalty apparels during the reign of King Rama 6 adapted from Western country.

The King Rama 6 and international Thai students were consider as European and intended to reveal under 3 principles of his majesty which were bun hair, wrap-around skirt or sarong and white teeth.

2. The ladies loyalty apparels adapted from Western country by remain the Western style such as; bobbed hair with hair filet, loose long shirts covered hip and knees wore over wrap- around skirt or sarong buckled with small and large belt with several of accessories, also matching ordinary socks and shoes with clothes. For the royal ceremony, the ladies royalty wore western style which were long dress covered knees or ankles. The accessories for each person depended on rank of nobility or the emphasis of the ceremony if it’s the alfresco ceremony, hat and bonnet were use.

3. The clothes of King Rama 6 or the lord loyalty wore internationalism style which hold the rank of nobility or depended on the ceremony. The round neck shirts with Chinese silk trousers were used as informal clothes.

(6)

สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ (1)

บทคัดย่อ (2)

Abstract (4)

สารบัญ (5)

สารบัญภาพ (6)

บทที 1 บทนํา

ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา 1

วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 3

ขอบเขตของโครงการวิจัย 3

วิธีการดําเนินการวิจัย 4

ประโยชน์ทีได้รับ 4

บทที 2 เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง

การแต่งกายตามพระราชนิยมเดิม 5

การแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี 10

ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 23

บทที 3 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล

รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี 24

รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 34 บทที 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 1 43 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 2 45 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 3 48 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 1 52 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 2 58 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 3 59 บทที 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย 60

ข้อเสนอแนะ 61

บรรณานุกรม 62

ประวัติผู้วิจัย 64

(7)

สารบัญภาพ

ภาพที หน้า

1 สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา ศิรินภาพรรณวดี 7 กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญาในรัชกาลที 6

2 สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภาในรัชกาลที 6 8 3 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายร่วมกับพระราชโอรส 9

ได้แก่ สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ และสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์

กรมขุนพิษณุโลกประชานาถ

4 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉลองพระองค์แบบลําลอง 9

5 ภาพถ่ายในหนังสือทีระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์ 10

6 พระองค์เจ้าหญิงอดิศัยสุริยาภา พระราชธิดาองค์ที 65 ในรัชกาลที 5, 11 เจ้าจอมมารดาอ่อน, พระองค์เจ้าหญิงอรประพันธ์รําไพ พระราชธิดาองค์ที 48

ในรัชกาลที 5

7 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายร่วมกับ 12 พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

8 พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ทรงฉลองพระองค์ตามแบบพระราชนิยม 13 9 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายร่วมกับพระนางเธอลักษมีลาวัณ 15 10 สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี และพระสุจริตสุดา (เปรือง สุจริตกุล) 16 11 เจ้าจอมเอิบ เจ้าจอมอาบ เจ้าจอมเอื อน และเจ้าจอมเอียม ในรัชกาลที 5 17 12 สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร 18 13 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายร่วมกับคุณเปรือง สุจริตกุล 19

(พระสุจริตสุดา พระสนมเอก) ในวันราชาภิเษกสมรส

14 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายร่วมกับพระนางเจ้าสุวัทนา 20 พระวรราชเทวี ในวันอภิเษกสมรส

15 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดําเนินประพาสสหพันธรัฐมลายู 22 16 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายร่วมกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี 22

และเซอร์วิลเลียม ยอร์ช แมกสเวล

17 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉลองพระองค์ลําลอง ทรงฉายพร้อมด้วยย่าเหล 23 18 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 1 25 19 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 2 26

(8)

ภาพที หน้า 20 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 3 27 21 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 4 28 22 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 5 29 23 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 6 30 24 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 7 31 25 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 8 32 26 รูปแบบการแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี พระรูปที 9 33 27 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 1 34 28 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 2 35 29 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 3 36 30 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 4 37 31 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 5 38 32 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 6 39 33 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 7 40 34 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 8 41 35 รูปแบบฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระรูปที 9 42 36 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 1 พระรูปที 1 43 37 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 1 พระรูปที 2 44 38 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 1 พระรูปที 3 44 39 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 2 พระรูปที 1 45 40 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 2 พระรูปที 2 46 41 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 2 พระรูปที 3 47 42 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 2 พระรูปที 4 47 43 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 3 พระรูปที 1 48 44 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 3 พระรูปที 2 49 45 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 3 พระรูปที 3 50 46 รูปแบบเครืองแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี แบบที 3 พระรูปที 4 51 47 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 1 พระรูปที 1 52 48 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 1 พระรูปที 2 53 49 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 1 พระรูปที 3 54

(9)

ภาพที หน้า 50 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 1 พระรูปที 4 55 51 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 1 พระรูปที 5 56 52 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 1 พระรูปที 6 57 53 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 1 พระรูปที 7 57 54 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 2 58 55 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบที 3 59

(10)

บทที 1 บทนํา

ความสําคัญและทีมาของปัญหา

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 6 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ทีให้ความสําคัญ แก่การพัฒนาคน โดยเฉพาะทรงสนพระทัยในเรืองการศึกษา ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกทีสําเร็จ การศึกษาจากต่างประเทศ(วรชาติ มีชูบท, 2552: 9 ) ทรงได้รับการศึกษาอยู่ประเทศอังกฤษเป็นเวลาถึง 9 ปี และยังเสด็จไปประเทศต่างๆในยุโรปอีกหลายประเทศ(Vella Wallte F., 1924: 9) ทําให้ได้มีโอกาส เรียนรู้และมีประสบการณ์ได้พบเห็นสิงต่างๆในตะวันออกอย่างถ่องแท้ ทําให้พระองค์มีความชืนชมใน วัฒนธรรมต่างๆของยุโรปอย่างมาก โดยเฉพาะวัฒนธรรมของอังกฤษ ซึงนําไปสู่การซึมซับในระเบียบแบบ แผนและขนมธรรมเนียมต่างๆ อันมีผลทําให้พระองค์มีพระจริยวัตรบางประการเป็นแบบตะวันตกมากกว่า ไทย(วรรณพร บุญญาสถิตย์, 2552: 98) ความเป็นสุภาพบุรุษของพระองค์ซึงประจักษ์ชัดแก่ผู้คนทัวไป ทํา ให้พระองค์ทรงได้รับสมญานามว่า เจ้าชายสยามแบบวิกตอเรียน (Vella Wallte F., 1924: 59)

ลักษณะของสตรีไทยในทัศนะของพระองค์ ต้องเพียบพร้อมด้วยคุณสมบัติของสตรีไทยตามคติ

โบราณ คือ มีกิริยามารยาทเรียบร้อย ระมัดระวังรักษาชือเสียงเกียรติยศของตน ดูแลกิจการบ้านเรือนไม่ให้

บกพร่อง เก่งการครัว รู้จักแต่งกายแต่พองามไม่มากเกินไป แต่ในขณะเดียวกันสตรีต้องมีการศึกษาดี รู้

หนังสือพอสมควร พัฒนาตนเอง ขวนขวายหาความรู้รอบตัวให้เป็นคนทันโลกทันเหตุการณ์ ฝึกตนให้รู้จัก สติปัญญา มีไหวพริบดี พัฒนาบุคลิกภาพตนเองให้ว่องไว เป็นตัวของตัวเอง รู้จักรับผิดชอบต่อหน้าที

(กรรภิรมย์ สุวรรณานนท์, 2524: 173)

บทบาทของสตรีไทย พระองค์ทรงเห็นว่าสตรีไทยควรมีบทบาทในสังคม โดยทําประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ เพราะทรงถือว่าสตรีเป็นหน่วยหนึงของสังคมไทย เป็นกําลังสําคัญของชาติเช่นเดียวกับ บุรุษ(กรรภิรมย์ สุวรรณานนท์, 2524: 173) มิใช่เพียงแต่รับผิดชอบเฉพาะภายในบ้านเรือนเท่านั น น่า สังเกตว่าการทีพระองค์ทรงมีทัศนะต่อสตรีดังกล่าวมาอาจวิเคราะห์ได้ว่าเป็นเพราะในขณะพระองค์ขึ น ครองราชย์แล้ว แนวคิดและค่านิยมต่อตะวันตกเริมมีการเปลียนแปลง คือ สตรีตะวันตกหลังยุควิตอเรียน เริมได้รับการศึกษาสูงขึ น ประกอบอาชีพทีหลากหลาย เริมมีบทบาททางการเมือง และทําประโยชน์ให้กับ สังคมมากขึ น ดังนั นจึงทําให้พระองค์ปรับเปลียนทัศนะไปตามความเปลียนแปลงของตะวันตกในขณะนั น ด้วย มิได้ยึดติดอยู่กับทัศนะแบบวิกตอเรียนทีมีค่านิยมว่าผู้หญิงเป็นเพศทีอ่อนแอ มีหน้าทีรับผิดชอบ เฉพาะในครัวเรือนเพียงอย่างเดียว(ชาคริต ชุ่มวัฒนะ, 2531: 2-7)

ความงามของสตรีไทยในทัศนะของพระองค์ คือ นุ่งผ้าซิน ไว้ผมยาว และฟันขาว ซึงพระองค์ได้

แสดงทัศนะเกียวกับเรืองนี ไว้ในโอกาสต่างๆดังเช่นเรืองของการแต่งกาย พระองค์ไม่ทรงโปรดให้สตรีนุ่งโจง

(11)

กระเบน โปรดให้เปลียนมาเป็นนุ่งผ้าถุงหรือผ้านุ่งซิน ทรงแนะนําผ่านพระราชนิพนธ์ทีตีพิมพ์ลงใน หนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตว่า “ให้สตรีไทยทุกๆภาคไว้ผมยาวและนุ่งซิน”(พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์, 2505: 594)

เมือครั งทีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัติพระนครในปี พ.ศ. 2445 นั น ได้ทราบ ฝ่าละอองพระบาทว่า ศิลปวัฒนธรรมไทยแขนงต่างๆทั งสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม นาฏดุริยางคศิลป์และ วรรณศิลป์ ล้วนถูกวัฒนธรรมตะวันตกกลืนกินไป(วรชาติ มีชูบท, 2552: 193-134) จึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯให้มีการฟืนฟูศิลปวัฒนธรรมต่างๆให้ได้รับการอนุลักษณ์และมีการปรับปรุงให้เข้ากับยุคสมัยมากขึ น ในส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็โปรดการวาดภาพ ทั งยังทรงวาดภาพฝีพระ หัตถ์หลายชุดพระราชทานไปลงพิมพ์ใน ดุสิตสมิต อยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิงภาพฝีพระหัตถ์บุคคลใน เครืองแบบและอิริยาบทต่างๆ((วรชาติ มีชูบท, 2553: 198)

เมือครั งทรงตกลงพระราชหฤทัยแล้ว จึงได้โปรดเกล้าฯให้มีการประชุมองคมนตรีสภา ณ พระทีนัง ไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เมือวันที 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 แล้วได้มีพระราชดํารัสในที

ประชุมนั นว่า “....อีกประการหนึง เมือหม่อมเจ้าวัลลภา เป็นคู่มันของข้าพเจ้าตามเหตุการณ์ทีกล่าวมาแล้ว นี ข้าพเจ้าจึงเห็นสมควรให้พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ตั งแต่นี สืบไป”(ราชกิจจานุเบกษา 37, 2463: 435) แต่ภายหลังทรงถอนหมั นและโปรดเกล้าฯให้ออกพระนามว่า พระเจ้าวรวงค์เธอพระองค์

เจ้าวัลลภาเทวี และในเวลาต่อมาได้ทรงโปรดเกล้าฯให้สถาปนาหม่อมเจ้าหญิงลักษมีลาวัณ ขึ นเป็น พระองค์เจ้า มีคํานําพระนามว่า พระนางเธอพระองค์เจ้าลักษมีลาวัณแต่สุดท้ายก็ประทับแยกกัน(ราช กิจจานุเบกษา 38, 2464: 206-207) ในวันที 10 มิถุนายน พ.ศ. 2461 แล้ว ครั นเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี

(ปลื ม สุจริตกุล) นําคุณเปรือง สุจริตกุล ธิดาคนโตถวายตัวรับราชการฝ่ายใน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชภิษกสมรสกับคุณเปรือง สุจริตกุล เมือวันที 27 ตุลาคม พ.ศ. 2464 แล้วทรงตั งให้เป็น

“พระสุจริตสุดา” ตําแหน่งสนมเอก ครันเวลาต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ คุณประไพ สุจริตกุล(น้อง คุณเปรือง สุจริตกุล) เป็น “พระอินทราณี” พระสนมเอก ต่อมาได้รับสถาปนาพระอิสริยยศเป็น “สมเด็จพระ นางเจ้าอินทรศักดิศจี พระบรมราชินี” ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ออกพระนามว่า “สมเด็จพระนาง เจ้าอิทรศักดิศจี พระวรราชชายา”(ราชกิจจานุเบกษา 39, 2465: 99-101) ครั นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักในพระราชหฤทัยแล้วว่า สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระบรมราชินี

ในขณะนั น ไม่อาจถวายพระราชกุมารได้ดังพระราชประสงค์ จึงทรงรับคุณเครือแก้ว อภัยวงศ์ เป็นบาท บริจาริกา และเมือทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสแล้วก็โปรดเกล้าฯตั งให้เป็นเจ้าจอมสุวัทนา สนมเอก ครั นเมือจอมสุวัทนาทรงครรภ์ใกล้ประสูติการ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า สถาปนาเป็น “พระ นางเจ้าสุวันทนาพระวรราชเทวี” เมือวันที 11ตุลาคม พ.ศ. 2468 “...เพือผดุงพระราชอิสริยยศแห่งพระ กุมารทีจะมีประสูติการในเบื องหน้า...”(ราชกิจจานุเบกษา 42, 2468: 192)

จากทีกล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงคัดเลือกสตรีที

เป็นราชินิกุล ได้แก่ สกุล “สุจริตกุล” และบุตรีข้าราชการขุนนางระดับสูง (คุณเครือแก้ว อภัยวงศ์) และสตรี

(12)

ทีทรงเลือกล้วนแต่เป็นบุคคลทีมีความทันสมัย และมีการศึกษาดีในยุคนั น (คุณประไพ สุจริตกุล) เป็น นักเรียนประจําโรงเรียนราชินี ตั งแต่ พ.ศ. 2453 จนสําเร็จการศึกษาชั นประโยคมัธยมบริบรูณ์ใน พ.ศ.

2464(ลาวัณย์ โชตามระ, 2532: 159)

การเปลียนแปลงเครืองแต่งกายของสตรีราชสํานักนั น ถือเป็นส่วนหนึงของการปรับปรุงประเทศให้

ทันสมัยและเป็นสากลมากขึ นซึงในช่วงนั นฝ่ายหน้าก็มีการเปลียนแปลงเครืองแต่งกายเช่นกัน ในช่วงต้น สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ.2453-2468 ยังคงนิยมนุ่งโจงกระเบนกับเสื อลูกไม้

ประดับเช่นเดิม แต่นิยมให้คอเสื อลึกกว่าเดิม แขนเสื อยาวเสมอข้อศอก ไม่พอง ต่อมาเปลียนมานิยมนุ่งซิน ตามพระราชนิยม การนุ่งซินได้รับความนิยมต่อเนืองเรือยมาซึงอิทธิพลทีรับมาจากภาพยนตร์ตะวันตก โดยเฉพาะภาพยนตร์อเมริกา(กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร, ร.ศ.112: 101) การนิยมนุ่งซินถือ เป็นการเปลียนแปลงทีสําคัญ นับเป็นรอยเชือมต่อกับการแต่งกายแบบสากลตะวันตกอย่างเต็มรูปแบบ เนืองจากผ้าซินมีลักษณะคล้ายกระโปรงแคบ ทําให้การเปลียนมาใส่ประโปรงในเวลาต่อมาเป็นไปอย่างไม่

ขัดเขินและได้รับการยอมรับอย่างรวดเร็ว ส่วนการสะพายแพรเริมไม่เป็นทีนิยมแล้ว ทรงผมก็เปลียนมาเป็น ทรงโป่งยาวแบบตะวันตก หลังจากการสถาปนาพระคู่หมั น คือ พระวรกัญญาประทานพระองค์เจ้าหญิง วัลลภาเทวี ราว พ.ศ.2463 แล้ว โปรดเกล้าฯให้สตรีในราชสํานักไว้ผมยาว เกล้ามวย หรือไว้ผมบ็อบตาม แบบตะวันตกก็ได้บางครั งนิยมประดับขนนกทีศีรษะด้วย(สาระ มีผลกิจ, 2551: 192)

เนืองจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยเกียวกับรูปแบบการแต่งกายของเจ้านายในรัชสมัยของพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัวไว้อย่างชัดเจน และเจาะลึกถึงลายละเอียดของการแต่งกายทั งชายและหญิง เพราะในยุค สมัยของพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวนั น ได้มีการเปลียนแปลงรูปแบบราชประเพณีในการแต่งกายหลายอย่าง ตามแบบวัฒนธรรมตะวันตก ซึงเป็นเหตุทีหน้าจะทําการศึกษาค้นคว้าถึงรูปแบบของชุดและเครืองแต่งกาย รวมไปถึงเครืองประดับตกแต่ง และทรงผม ผู้วิจัยจึงได้จัดทําโครงการวิจัย เรืองรูปแบบเครืองแต่งกายใน สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที 6) : ศึกษาเฉพาะรูปแบบเครืองแต่งกายของ เจ้านาย ขึ น

วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย

1. เพือศึกษารูปแบบเครืองแต่งกายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 2. เพือวิเคราะห์และประมวลองค์ความรู้เกียวกับรูปแบบการแต่งกายของเจ้านายในสมัย พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ขอบเขตของโครงการวิจัย

การศึกษารูปแบบเครืองแต่งกายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยศึกษา เฉพาะเครืองแต่งกายของเจ้านาย

(13)

วิธีการดําเนินการวิจัย

1. รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาภาคเอกสาร ณ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดของสถานศึกษาและ หน่วยงานทีเกียวข้อง

2. รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาภาคสนาม ณ หอวชิราวุธานุสรณ์

3. รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาโดยรับฟังความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิด้วยวิธีการสนทนากลุ่มย่อย 4. นําข้อมูลทีได้จากการศึกษามาวิเคราะห์ในลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยอาศัยข้อมูลเชิง

คุณลักษณะไม่สามารถแปลงเป็นตัวเลขได้ ต้องใช้หลักตรรกศาสตร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั งใช้ข้อมูลตามสภาพทีเป็นจริงโดยไม่มีการควบคุมตัวแปรในลักษณะการวิจัยเชิง ธรรมชาติ

5. นําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลและผลการวิจัยในลักษณะการวิจัยเชิงพรรณนา พร้อม ภาพประกอบ

ประโยชน์ทีได้รับ

1. ได้องค์ความรู้ใหม่และสือสร้างสรรค์ทีเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนืองตลอดชีวิตของ ประชาชนชาวไทยโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน

2. ได้องค์ความรู้ใหม่และสือสร้างสรรค์ทีสามารถสร้างผลกระทบในเชิงบวกกับพัฒนาการด้าน การออกแบบเครืองแต่งกาย

(14)

บทที 2

เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง

การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาและประมวลองค์ความรู้เรืองรูปแบบเครืองแต่งกายของ เจ้านายในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึงผู้วิจัยศึกษาเอกสาร และนําเสนอ ตามลําดับดังต่อไปนี

1. การแต่งกายตามพระราชนิยมเดิม

2. การแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี

3. ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

การแต่งกายตามพระราชนิยมเดิม

สืบเนืองจากการเปลียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมครั งใหญ่ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 5 ทําให้เจ้านายและขุนนางชั นสูง รวมถึงสามัญชนเริมคุ้นชินและยอมรับ วัฒนธรรมตะวันตกได้มากขึ น แต่อย่างไรก็ตาม อิทธิพลด้านเครืองแต่งกายก็ยังไม่มีความเปลียนแปลงมาก นัก จนมาถึงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 6 ซึงได้มีการเผยแพร่พระราช นิยมใหม่อันเป็นแนวทางทีส่งผลให้เกิดความเปลียนแปลงครั งใหญ่ในเวลาต่อมา

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 6 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ทีให้ความสําคัญ แก่การพัฒนาคน โดยเฉพาะทรงสนพระทัยในเรืองการศึกษา ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกทีสําเร็จ การศึกษาจากต่างประเทศ(วรชาติ มีชูบท, 2552: 9 ) ทรงได้รับการศึกษาอยู่ประเทศอังกฤษเป็นเวลาถึง 9 ปี และยังเสด็จไปประเทศต่างๆในยุโรปอีกหลายประเทศ(Vella Wallte F., 1924: 9) ทําให้ได้มีโอกาส เรียนรู้และมีประสบการณ์ได้พบเห็นสิงต่างๆในตะวันออกอย่างถ่องแท้ ทําให้พระองค์มีความชืนชมใน วัฒนธรรมต่างๆของยุโรปอย่างมาก โดยเฉพาะวัฒนธรรมของอังกฤษ ซึงนําไปสู่การซึมซับในระเบียบแบบ แผนและขนมธรรมเนียมต่างๆ อันมีผลทําให้พระองค์มีพระจริยวัตรบางประการเป็นแบบตะวันตกมากกว่า ไทย(วรรณพร บุญญาสถิตย์, 2552: 98)

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที 29 ในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที 2 ในสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระ ราชสมภพเมือวันที 1 มกราคม พ.ศ. 2423 เมือทรงเจริญพระชันษา ได้ทรงศึกษาสรรพวิชาต่างๆ ภายใน พระบรมมหาราชวัง ทั งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยมีพระอาจารย์ชาวอังกฤษเป็นผู้ถวายพระอักษร วิชาภาษาอังกฤษ เมือทรงเจริญพระชนมายุ 10 พรรษา ได้เสด็จไปทรงศึกษาทีโรงเรียนราชกุมารใน

(15)

พระบรมมหาราชวัง จนกระทังในปี พ.ศ. 2436 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯให้

เสด็จออกไปศึกษาต่อยังประเทศอังกฤษ

โดยแรกเริมได้ทรงศึกษาแบบ Home School ก่อนจะเสด็จไปทรงศึกษาวิชาทหารทีโรงเรียนนาย ร้อยแซนด์เฮิร์สต์ รวมถึงเข้ารับราชการทหาร และศึกษาวิชาพลเรือนทีมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ตามลําดับ เมือเสด็จนิวัติประนครในปี พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในโปรดเกล้าให้สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช (พระยศในขณะนั น) เข้ารับราชการและช่วยราชกิจด้านการทหาร จนเมือสิ นรัชกาล จึง เสด็จดํารงสิริราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที 6 แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี ในปี พ.ศ. 2453

ต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั งยังมิได้ทรงอภิเษกสมรส จึงยังไม่ปรากฏ เกียวกับพระราชนิยมในการแต่งกายของสตรีอย่างชัดเจน แต่ในระหว่างนี สตรีในราชสํานักหรือในวงสังคม ชั นสูงก็มีการพัฒนาการแต่งกายเป็นไปตามแบบสตรีชาวตะวันตกอยู่ตลอดเวลา สืบเนืองจากการเสด็จ ประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลก่อนหน้านันเอง

การแต่งกายของเจ้านายสตรีในช่วงต้นรัชสมัยนั น เป็นไปตามแบบพระราชนิยมเดิม เพียงลดทอน รูปแบบการตกแต่งให้น้อยลง โดยยังคงนิยมนุ่งโจงกระเบน สวมเสื อระบายลูกไม้ แต่คอเสื อลึกกว่า และยัง นิยมเสื อแขนยาวเสมอศอก แขนไม่พองมาก ไม่รัดปลายแขน มีผ้าสไบพาดไหล่ รวบหัวไหล่ติดเข็มกลัดและ ปล่อยให้หย่อนลงมา รวบชายสไบไว้ข้างลําตัวทิ งชายยาว มีการใช้ผ้าแพรพิมพ์ดอกเป็นแพรสะพาย นอกเหนือจากผ้าแพรบางหรือผ้าลูกไม้อย่างสมัยก่อน ส่วนถุงเท้าและถุงน่อง เป็นผ้าโปร่งมีลวดลายหรือปัก ดิ น (สํานักงานส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ. คณะอนุกรรมการการแต่งกายไทย : วิวัฒนาการและ เอกลักษณ์ประจําชาติไทย, 2543)

(16)

ภาพที 1 : สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา ศิรินภาพรรณวดี

กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญาในรัชกาลที 6

ทีมา : สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ภ.001หวญ.30-68 ภาพหอพระสมุดวชิรญาณ ภาพสมเด็จเจ้าฟ้ามาลินีนพดารา

(17)

ภาพที 2 : สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภาในรัชกาลที 6 ทีมา : สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ภ.001หวญ.30-58 ภาพหอพระสมุดวชิรญาณ

ภาพพระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา

ส่วนการแต่งกายของเจ้านายบุรุษนัน ยังคงคล้ายคลึงกับในสมัชรัชกาลที 5 ซึงได้รับอิทธิพลจาก การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมถึงอิทธิพลจากนักเรียนไทยทีไป เรียนต่างประเทศ และกลับมาเผยแพร่รูปแบบการแต่งกายแบบตะวันตกในราชสํานักไทย โดยส่วนใหญ่

นิยมสวมชุดสากลนิยมทั งแบบครึงยศและเต็มยศ ส่วนเครืองแต่งกายลําลองจะนิยมกางเกงแพรจีน สวมกับ เสื อราชปะแตนหรือเสื อคอกลม

(18)

ภาพที 3 : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายร่วมกับพระราชโอรส ได้แก่ สมเด็จเจ้าฟ้า มหาวชิราวุธ (ประทับด้านซ้าย) สมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ กรมขุนพิษณุโลกประชานาถ (ประทับด้านขวา)

ทีเมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ทีมา : ชมรมคนรักวัง ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี, 2546 หน้า 19

ภาพที 4 : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉลองพระองค์แบบลําลองขณะเสด็จประพาสต้น ทีมา : ชมรมคนรักวัง ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี,

2546 หน้า 26

(19)

การแต่งกายตามพระราชนิยมใหม่ของเจ้านายสตรี

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาในยุโรปตั งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทําให้ทรงคุ้นเคย กับวัฒนธรรมแบบตะวันตก และเกิดเป็นกระแสพระราชนิยมสามอย่างขึ น ได้แก่ ผมยาวเกล้ามวย, นุ่งซิน และฟันขาว

พระราชนิยม 3 อย่างนั น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแจ้งไว้อย่างเด่นชัด ใน หนังสือพิมพ์วิทยาจารย์ เล่มที 18 ตอนที 10 วันที 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 ในบทความชือ

“เครืองหมายแห่งความรุ่งเรืองคือสภาพแห่งสัตรี” ทรงใช้นามแฝงว่า “รวมจิตติ” ทรงกล่าวว่า

“ข้าพเจ้าเป็นผู้หนึง เป็นผู้ทีเห็นควรให้หญิงไทยไว้ผมยาว เพราะคนทีไว้ผมสั นได้แก่เงาะ”

ขณะเดียวกันในบทความนั นก็ทรงกล่าวด้วยว่า ทรง “ชังหญิงฟันดําอย่างทีสุด” ส่วนเรืองนุ่งผ้าซินนั น เข้าใจว่าจะมาทีหลังราว พ.ศ.2463 ดังทีปรากฏในหนังสือพิมพ์ไทย (รายวัน) วันที 5 มกราคม พ.ศ. 2465 มีบทความชักชวนให้นุ่งผ้าซิน อย่าดัดจริตนุ่งกระโปรงฝรัง

นอกจากนี ในหนังสือพิมพ์ทีระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์ สวนลุมพินี พระพุทธศักราช 2468 (รวบรวม จัดทํา พ.ศ. 2468 แต่ประสบอุปสรรค์ มาพิมพ์เสร็จในปี พ.ศ.2470) ยังมีภาพทีบรรยายแสดงเจตนาให้

เห็นถึงเรืองนี ด้วย เช่น ภาพผู้หญิงเท้าแขน นุ่งซิน บรรยายว่า “เครืองแต่งตัวสุภาพสตรี พ.ศ.2464-2465

” หรือภาพหน้า 127 บรรยายว่า “สามสตรีผู้ไว้ผมยาวตามประเพณีใหม่สําหรับรัชกาลที6 นับเป็นรัศมีอัน งามตระการ ตรงข้ามกับการไว้ผมตัดอย่างโบราณ” (เอนก นาวิมูล, 2547)

ภาพที 5 : ภาพถ่ายในหนังสือทีระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์

ทีมา : เอนก นาวิมูล, 2547 หน้า 131

(20)

ผมยาวเกล้ามวย

ลักษณะของสตรีไทยในทัศนะของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ต้องเพียบพร้อมด้วย คุณสมบัติของสตรีไทยตามคติโบราณ คือ มีกิริยามารยาทเรียบร้อย ระมัดระวังรักษาชือเสียงเกียรติยศของ ตน ดูแลกิจการบ้านเรือนไม่ให้บกพร่อง เก่งการครัว รู้จักแต่งกายแต่พองามไม่มากเกินไป แต่ใน ขณะเดียวกันสตรีต้องมีการศึกษาดี รู้หนังสือพอสมควร พัฒนาตนเอง ขวนขวายหาความรู้รอบตัวให้เป็น คนทันโลกทันเหตุการณ์ ฝึกตนให้รู้จักสติปัญญา มีไหวพริบดี พัฒนาบุคลิกภาพตนเองให้ว่องไว เป็นตัว ของตัวเอง รู้จักรับผิดชอบต่อหน้าที(กรรภิรมย์ สุวรรณานนท์, 2524: 173)

ในปีพ.ศ.2463 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศหมั น และโปรดเกล้าฯ ให้

สถาปนาพระคู่หมั น คือ หม่อมเจ้าหญิงวัลลภาเทวี พระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ขึ นเป็นพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี เมือทรงอยู่ในฐานะ คู่หมั น พระองค์ก็ทรงเป็นผู้นําสตรีปฏิบัติตามพระราชนิยม โดยการไว้ผมยาวเกล้าผมมีโป่งข้างหน้า และ มีริบบิ นคาดทับข้างบน ทําให้สตรีส่วนใหญ่ต่างก็นิยมไว้ตามแบบพระวรกัญญาปทานฯ แต่เจ้านายฝ่ายใน บางพระองค์ก็ทรงโปรดทีจะแต่งพระเกศาด้วยการดัด เช่น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าวไลย อลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร โดยให้หม่อมเจ้าหญิงสุภาภรณ์ ไชยันต์ เป็นเจ้าหน้าทีทํากระ เกศาถวาย โดยนําเอาคีมไปเผาไฟจนร้อน และนํามาวางบนกระดาษจนเย็นได้อุณหภูมิพอสมควรจึงใช้

คีมนาบม้วนพระเกศาให้เป็นลอนงดงาม (วรรณพร บุญญาสถิตย์, 2551)

ภาพที 6 : จากซ้ายไปขวา พระองค์เจ้าหญิงอดิศัยสุริยาภา พระราชธิดาองค์ที 65 ในรัชกาลที 5, เจ้าจอมมารดาอ่อน, พระองค์เจ้าหญิงอรประพันธ์รําไพ พระราชธิดาองค์ที 48 ในรัชกาลที 5

ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที 6 ทีมา : เอนก นาวิกมูล, 2547 หน้า 144

(21)

ภาพที 7: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายร่วมกับ พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี

ทีมา : วรชาติ มีชูบท, 2552 หน้า 252

(22)

ภาพที 8 : พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ทรงฉลองพระองค์ตามแบบพระราชนิยม ทีมา : ชมรมคนรักวัง ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี,

2546 หน้า 34

Referensi

Dokumen terkait

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปีที 11 ฉบับที 1 เดือนสิงหาคม 2559 – มกราคม 2560 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้เพือวางแผนชุมชน THE APPROACH FOR

ดังนี้ อิทธิพลทางตรงมี 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านการออกแบบทีม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล เท่ากับ 0.57 ปัจจัยด้าน กระบวนการของทีม มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล เท่ากับ 0.31และปัจจัยด้านภาวะผู้น