• Tidak ada hasil yang ditemukan

รอยต่อความทันสมัยและการเปลี่ยนแปลง

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "รอยต่อความทันสมัยและการเปลี่ยนแปลง"

Copied!
3
0
0

Teks penuh

(1)

รอยตอความทันสมัยและการเปลี่ยนแปลง ผศ.ชมพู โกติรัมย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

สถาบันอุดมศึกษาคือ “ศูนยกลางทางปญญา” ของสังคมทั้ง “ศาสตร” (sciences) และ “ศิลป” (arts) มหาวิทยาลัย จึงเปนสถานที่ที่สราง “คนรุนใหม” เพื่อออกไปเปนผูนําของสังคม เมื่อเปนเชนนี้มหาวิทยาลัยก็ยิ่งทวีคุณคา และมีความสําคัญ เดนชัดขึ้นทามกลางสังคมเปลี่ยนแปลงไปอยางสลับซับซอนมากขึ้น มหาวิทยาลัยนับวามีความสําคัญอยางยิ่งยวด ในฐานะเปน หลักค้ําการดํารงอยูหรือการอยูรอดของสังคม จากระยะเวลาที่ผานมามีกระบวนการที่ธํารงรักษาไวซึ่ง “ศูนยกลางทางปญญา”

ดวยการปฎิรูปบาง มหาวิทยาลัยในหรือนอกระบบบางหรือมีการโยกยายทบวงมหาวิทยาลัยไปรวมตัวกับกระทรวงศึกษาธิการ ดู

เหมือนวาการเปลี่ยนการเปลี่ยนแปลงในแวดวงการศึกษา เปนไปในดานปริมาณมากกวาคุณภาพ การปฎิรูปการศึกษาตามที่มีการ เคลื่อนไหว มหาวิทยาลัยก็จะตกไปอยูในลักษณะใด มีผลกระทบตอ “ศูนยกลางทางปญญา” กับอนาคตของประเทศชาติสังคมและ เผาพันธุไทยอยางหลีกเลี่ยงไมได โดยเฉพาะสถาบันการศึกษายิ่งตองย้ําคิดย้ําทําเกี่ยวกับบทบาทดานจริยธรรม เพื่อเปนตนแบบ และผูนําทางสังคมเศรษฐกิจและการเมืองทั้งนี้ เพราะบทบาทของสถาบันอุดมศึกษาคือการทํานุบํารุงสืบสานประเพณีวัฒนธรรม ของชาติสรางความสมดุลยระหวาง “ศาสตรและศิลป” หรืออีกนัยหนึ่ง คือจัดการเรียนการสอนและการวิจัย ใหทัดเทียมกันทั้ง วิชาการดานวิทยาศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรบริสุทธิ์กับวิชาการดานสังคมและมนุษยไมใชเนนอยางเดียวเชนในปจจุบัน ซี่ง ตองเรงทําใหเปนรูปธรรมแบบรวมดวยชวยกันมิใชแคมีศูนยศิลปวัฒนธรรมเทานั้น แตจะตองขยายเปนกิจกรรมที่สามารถสัมผัส ได ผูเขียนเห็นวาสถาบันการศึกษาและสถาบันศาสนาเทานั้นเปนปราการดานสุดทาย ที่ทําหนาที่เหนี่ยวรั้งวัฒนธรรมทางจิต วิญญาณอันเปนเปนตัวหลอเลี้ยงคุณคา คุณความดีเพื่อฉุดรั้งสังคมใหสามารถมีภูมิคุมกันจากกระแสไหลเชี่ยวในระดับโลกในนาม โลกาภิวัตนบาง การสื่อสารไรพรมแดนบางอยางมีสติเทาทัน มิใชออกมาพูดเชิงตอวากันที่ปลายเหตุกรณีการแตงกายของ นักศึกษา นักศึกษาซึงเปนเยาวชน(ผูออนดวยภูมิธรรม มีการแยกแยะไมมากนัก) เปรียบเหมือนผาขาวพรอมเปลี่ยนสีได

หลากหลาย ประเด็นนี้ตองดูที่โครงสรางหลักของสังคมที่มีบทบาทโดยตรงเกี่ยวกับการพัฒนาคน(สรางคน) หากพิจารณาถึง จริยธรรมที่ผูกโยงไปถึงกระบวนการเพาะบมความคิดการกระทําของคนอันเปนพื้นฐานหรือศูนยกลารการพัฒนา โดยที่หนอ เนื้อแหงการศึกษาที่เปนอยูนั้นซึ่งอยูภายใตกรอบความคิดเพื่อเพิ่มคนทํางาน เพิ่มผลผลิต (ทรัพยากรมนุษย)เปนดานหลัก ถึงจะ ทบทวนหวนกลับมาสูในเรื่องของคน ในฐานะเปนศูนยกลางของการพัฒนาในทุกเรื่อง(ตามแผนฯ8) ประเด็นความทันสมัยและ การพัฒนานับวาเกี่ยวเนื่องกันเปนอยางยิ่ง หากแตวาที่ผานมาสังคมไทยมักเนนหนักในเรื่องทันสมัยมากกวาพัฒนา (ทันสมัยแตไม

พัฒนา) ตางจากประเทศญี่ปุนที่เริ่มตนจากการสรางโรงเรียนที่เปดสอนเกี่ยวกับเทคโนโลยีกอน เพื่อสรางคนใหมีความรูเรื่อง เทคโนโลยีเปนอันดับตนๆหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเปนลําดับมา โดยเนนการพัฒนาคนมากกวาเปลี่ยนแปลง หรือรับเอามา เพื่อสรางตอยอดใหทันความทันสมัย สวนประเทศไทยหากดูจากนโยบายการพัฒนาแลวมักจะตั้งอยูบนแนวคิดกระแสหลัก 2 กระแส คือ มุงเนนการขยายตัวของภาคสวนเศรษฐกิจและบริการ (Economics Growth) และความทันสมัยของสังคม (Modern Society) จากแนวคิดดังกลาวมีสงผลตอการพัฒนาของไทยมักเอียงไปยังการสงเสริมภาคอุตสาหกรรมในเขตเมืองเปนหลัก ใน สวนภาคสวนเกษตรกรรมมักออกไปในทางเกษตรกรรมเชิงพาณิชย อันเปนกระบวนการผลิตที่ทันสมัยตามแบบสังคมตะวันตก เพื่อการผลิตจํานวนมาก (Mass Production) แทนที่จะเปนเกษตรกรรมเพื่อการยังชีพ ที่มีความพอเพียงทํามาหากินตามรูปแบบ สังคมชนบททั่วไป เมื่อเปนเชนนี้ไดสงผลกระทบตามมาอีกมากมายเปนลูกซเปนตนวาการยายถิ่นเขาสูเมืองอันเนื่องมาจากชาว ชนบทไมอาจยังชีพอยางพอเพียงในถิ่นกําเนิดของตนเอง แนวคิดความทันสมัยดังกลาว ไดไหลไปตามเสนทางคมนาคมที่แสน สะดวกสบายขยายไปทั่วไมเวนแมแตชายขอบหุบเขา ในรูปของสินคาจากตางถิ่น

และวัฒนธรรมตางแดนตัวแทนสัญลักษณความ ทันสมัย (Westernization) แนวคิดการพัฒนาแบบกระแสหลักนี้ถูกใชเปนเกณฑวัดอัตราการพัฒนาที่เปนดังสัญญาณระฆังเรง

(2)

การแขงขันใหเราวิ่งเขาหาสัญลักษณการพัฒนามาตลอด พอชวงในแผนฯ 8 มีการปรับแผนการพัฒนาใหม จากบทเรียนวิกฤติ

เศรษฐกิจอยางรุนแรง กาวยางที่เรากาวมาแลวนั้น เปนภาพที่สะทอนใหเห็นปมปญหาการพัฒนาที่เกิดขึ้นนั้นมีปจจัยหลายปจจัย ทั้งจากภายในประเทศเชน เรื่องของการศึกษา (รวมถึงศาสนาและวัฒนธรรมเพราะภายหลังไดจัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรมเพื่อมา ดูแลงานในดานนี้) รวมทั้งการเมืองดวยสาระสําคัญของไทยที่มักมองขามคือ ปญหาเชิงโครงสรางของสังคมระหวางเสาหลักทาง การเมือง การศึกษาศาสนา และเศรษฐกิจ เปนโครงสรางที่หละหลวมเหมือนไปคนละทาง ซึ่งจําเปนอยางยิ่งตองมองปญหา อยางมีบูรณาการเชื่อมโยงไปหมดมิอาจแยกออกจากกันได (สิ่งนี้เกิดมียอมสงผลใหสิ่งนี้เกิด) และปจจัยภายนอกประเทศในนาม กระแสโลกาภิวัตน เพื่อจะไดหยั่งรากลึกถึงภาวะที่ออนแอขาดภูมิคุมกัน จนกลายเปนอาการลมปวยทางสังคมอยางรูเทาทันสภาพ สังคมไทยปจจุบันไดรับผลกระทบจากแนวโนมบริบทการเปลี่ยนแปลงสังคมโลก ภายใตการพัฒนาและความทันสมัยการพัฒนา ประเทศไทยตามแผนที่กลาวมา ทําใหประเทศกาวไปสูความทันสมัย ขณะเดียวกันยังเปนการเชื่อมโยงระบบระหวางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม โดยมีเนื้อหาโดยสรุป คือ สังคมไทยกําลังอยูในกระบวนการไลตามทางเศรษฐกิจ (Catching-up Process) ขณะเดียวกันการดําเนินนโยบายในแนวทางเศรษฐกิจเสรีนิยม สงผลใหขนาดของการเปดประเทศขยายใหญขึ้น ยุทธศาสตรการ พัฒนาแบบเปดทําใหระบบเศรษฐกิจไทยเคลื่อนไหวโดยไมสามารถควบคุมได โดยขึ้นอยูกับระบบทุนนิยมโลก การเติบโตของ เศรษฐกิจทุนนิยม คอย ๆ ทําลายระบบความสัมพันธเชิงอุปถัมภ โดยที่การใชเงินเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนพลังเศรษฐกิจทุน นิยมไดเปลี่ยนทรัพยากรใหกลายเปนสินคา ใหเปนทุน ที่ทาทายระบบสังคมสังคมเปนอยางยิ่งคือ วัฒนธรรมการประหยัดและ จริยธรรมถูกทําลายลง ระบบการเมืองไทยยังไมใชระบอบประชาธิปไตยเสรี แตเปนประชาธิปไตยอุปถัมภ อํานาจทางการเมืองอยู

ในมือนักเลือกตั้ง และการแสวงหาสวนเกินทางเศรษฐกิจจากการดําเนินนโยบายในชนชั้นปกครอง ( รังสรรค ธนะพรพันธุ) นี่คือ รอยตอระหวางพัฒนากับทันสมัย สามารถฉายภาพสังคมไทยในบางประเด็นอันเปนแนวโนมใหมจากปจจุบันสูอนาคต โดยเริ่ม จากสวนของสังคมกอน สังคมไทยมีแนวโนมตกอยูในสนามแขงขันบนฐานแหงความรู เปนสังคมมีการโยกยายถิ่นทั้งภายใน- จากภายนอกประเทศ อันนําไปสูการผสม-กลืนกลายระหวางชาติพันธุ เปนสังคมที่มีผูสูงวัยในอัตราเพิ่ม มีครอบครัวขนาดเล็ก พึ่งพาตนเองสูง เปนสังคมสับสนเรื่องการตีคาความดีงามจากกรอบบรรทัดฐานดั้งเดิม เปนสังคมเรียกรองความสมานฉันท และ เปนสังคมทิ้งหางความเสมอภาคระหวางเกษตรกรรม-อุตสาหกรรม ในสวนเศรษฐกิจ เปนสังคมถูกตีกรอบการใชแรงงานความรู

เปนฐานที่ตั้ง (knowledge worker ) ซึ่งความเปนจริงแรงงานของไทยเปนแรงที่ใชแรงงานเปนสวนมากอันเปนสวนฐานเจดีย ฐาน ที่ตั้งนี้จะตองขยับไปเปนฐานความรูที่ถูกทาทายจากกรอบที่ใหญกวาในนามทรัพยสินทางปญญา และกระแสตอบรับพระราชดํารัส เศรษฐกิจพอเพียงในบริบทการคาไรพรมแดนในกรอบเขตการคาเสรี ( FTA ) เปนความทายบนเสนทางการกาวยางอยาง ระมัดระวังเพราะสังคมโลกดูคลายเปนตลาดเดียว ใครและสังคมใดไมรูเทาทัน ก็ถูกเอาเปรียบ ทั้งโลกมีการแขงขันสูง ในสวน สิ่งแวดลอมและพลังงาน ประเทศไทยไดรับผลกระทบจากประเด็นขามชาติเกี่ยวกับโลกรอน วิกฤตการณราคานํามัน กระแสการ พัฒนากับการอนุรักษที่จะตองไปดวยกันแบบบัวไมช้ําน้ําไมขุน ในสวนวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรม เปนความทาทาย จากเทคโนโลยีชีวภาพ( Biotechnology) อันนําไปสูการสูญเสียพืชพันธุอันเปนทรัพยากรของชาติ จากการใชเทคโนโลยี่ดังกลาวมา ตัดแตงขยายพันธุแลวนําไปจดสิทธิบัตรเพื่อความชอบธรรมในเชิงการคา และการขยายตัวทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT ) ที่

ขาดการควบคุมเพื่อนํามาเปนเครื่องมือเขาถึงขาวสารขอมูลอยางแทจริง แตกลับติดหลุมอําพลางของเกมในหมูเยาวชน· การเมือง การปกครอง เปนการเมืองมุงเนนการเลือกตั้งแตขาดการสงเสริมความรูเรื่องการเมืองในระดับฐานรากอยางตอเนื่องและกวางขวาง เปนการเมืองไมคอยตั้งอยูบนฐานวัฒนธรรมทางจิตวิญญาณาณ จากแนวโนมของระบบโลก ไดกลายทางเปนทางสองแพรงที่เรา ตองถามหาเพื่อเลือกเดินระหวาง ความสดใส หรือความมืดมน ปญญานิยมหรืออํานาจนิยม กระจายอํานาจหรือรวมศูนย

ความรูคูคุณธรรมหรือความรูไปทาง

คุณธรรมไปทาง

สรางเครือขายความรูสูชุมชนหรือเครือขายฐานอํานาจ รูทันโลกหรือรู

ทองสูตร สรางสังคมเรียนรูหรือสรางสังคมนกแกวนกขุนทอง

(3)

Referensi

Dokumen terkait

ชมพู โกติรัมย มหาวิทยาลัยศรีปทุม ตามปรัชญาการเมืองเสรีประชาธิปไตยนั้นมีจุดเริ่มตนจากการการที่ประชาชนเรียกรองสิทธิอันจะพึงมีพึงไดของตนเอง แลว แสวงหาจุดยืนรวมกัน

แนวคิดวาดวยกลุม สะทอนจุดยืนและการจับขั้วทางการเมือง ผศ.ชมพู โกติรัมย มหาวิทยาลัยศรีปทุม ในหวงเวลากอนอรุณรุงทางการเมืองเริ่มสางทําใหพอเห็นกลุมตางๆ