• Tidak ada hasil yang ditemukan

ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีต่อระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบันอุดมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีต่อระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบันอุดมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร"

Copied!
148
0
0

Teks penuh

A sample of 400 students from public and private universities in the metropolitan area of ​​Bangkok was used for this study. In this study, we found that both public and private university students value the privacy issue of the e-service the most. In addition, the undergraduate students of public universities suggested that the website should have a better compensation procedure, better responsiveness in case the user performs a wrong procedure or enters a wrong item and also better system availability.

สารบัญตาราง (ตอ)

สารบัญภาพประกอบ

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

วัตถุประสงคของการวิจัย

คําถามการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย

ขอบเขตของการวิจัย

นิยามศัพทเฉพาะ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

บทที่ 2

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

การประเมินความพึงพอใจ

แสดงตัวแบบความไมสอดคลองกับความคาดหวัง

  • คุณภาพของการบริการอิเล็กทรอนิกส
  • คุณภาพของการบริการ และความพึงพอใจ
  • สรุป
  • รูปแบบการวิจัย
  • การวิเคราะหขอมูล

การนําเสนอโฮมเพจ (Home page presentation) มีอินเตอรเฟสที่ใชงานงาย และการแสดงรายละเอียดของขอมูลสินคา. 2002) กลาววาความพึงพอใจ ของลูกคาบนเว็บไซตสามารถแบงออกได 2 ประการ คือ ความพึงพอใจที่มีตอ คุณภาพของขอมูล สารสนเทศ (Web site’s information quality) และความพึงพอใจตอการดําเนินงานของระบบ ใน การจัดสงขอมูลสารสนเทศกลับไปยังลูกคา (Web site’s system performance ) ดังภาพ. เมื่อรวบรวมขอมูลและแจกแจงความถี่แลวจะใชคะแนนเฉลี่ย แบงระดับความสําคัญและ ความพึงพอใจของนักศึกษาเปน 5 ระดับ ซึ่งมีเกณฑในการพิจารณา ดังนี้. แปลความหมายของระดับคะแนนได ดังนี้. กับคาระดับการใหบริการที่ยอมรับไดของนักศึกษาตอระบบบริการ นักศึกษาอิเล็กทรอนิกส ของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เทากับ 1.06 และนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของเอกชน. x3 - x1) คือ ผลตางของคาเฉลี่ยความพึงพอใจและความสําคัญตามความ คิดเห็นของนักศึกษาตอระบบจัดการขอมูลนักศึกษาอิเล็กทรอนิกส. หรือระบบลงทะเบียนเรียนอิเล็กทรอนิกส. x3 - x2) คือ ผลตางของคาเฉลี่ยความพึงพอใจกับระดับการใหบริการที่ยอมรับ ได ตอระบบจัดการขอมูลนักศึกษาอิเล็กทรอนิกสหรือ. เมื่อไดรับแบบสอบถามกลับคืนมาแลว ผูวิจัยตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถาม แลวนํามาลงรหัส (Coding) และประมวลผลขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) Version 11.0 for Windows.

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

ตอ)

  • ระดับชั้นป
  • คณะที่ศึกษา

ตอ)

ความมีประสิทธิภาพของระบบลงทะเบียนเรียนอิเล็กทรอนิกส โดยภาพรวมในระดับมาก ( x1 = 3.89) ในขณะที่มีความพึงพอใจโดยภาพรวมในระดับปานกลาง (x3 = 3.39) การเปรียบเทียบหาคาความแตกตางระหวางประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการใชงานจริง และ. ชองทางการติดตอของระบบลงทะเบียนเรียนอิเล็กทรอนิกส โดยภาพรวมในระดับมาก (x1 = 3.90) ในขณะที่มีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (x3 = 3.43) การเปรียบเทียบหาคาความแตกตางระหวางประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการใชงานจริง และ. สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของเอกชน นั้นใหความสําคัญดาน เนื้อหาของระบบลงทะเบียนเรียนอิเล็กทรอนิกส โดยภาพรวมในระดับมาก (x1 = 3.92) ในขณะที่. ความสําคัญในแตละปจจัยของ ระบบลงทะเบียนเรียนอิเล็กทรอนิกส ในภาพรวมอยูในระดับมี. ละปจจัยของ ระบบลงทะเบียนเรียนอิเล็กทรอนิกส ในภาพรวมอยูในระดับมีความสําคัญมาก ขณะที่ความพึงพอใจของนักศึกษาอยูในระดับมีความพึงพอใจปานกลาง เชนเดียวกัน ผลการหา คาความพึงพอใจที่แทจริงตามทฤษฎีการไมสอดคลองกับความคาดหวังโดยเปรียบเทียบ ความแตกตางระหวางประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการใชงานจริง และความคาดหวัง รวมทั้ง ผล การหาคาความพึงพอใจตามแนวคิดของขอบเขตของการยอมรับไดโดยเปรียบเทียบหาคา ความแตกตางระหวางประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการใชงานจริง และระดับการใหบริการที่. เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่แทจริงตามทฤษฎีการไมสอดคลองกับความคาดหวังในแต. 4.2.3 สรุปการศึกษาเปรียบเทียบระหวางความสําคัญตามความคิดเห็นของนักศึกษาตอ ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส และความพึงพอใจตอระบบบริการอิเล็กทรอนิกส ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส และความพึงพอใจตอระบบบริการอิเล็กทรอนิกส. ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน. ละปจจัยของระบบบริการอิเล็กทรอนิกส ในภาพรวมอยูในระดับมีความสําคัญมาก ขณะที่. ผลการหาคาความพึงพอใจตามแนวคิดของขอบเขตของการยอมรับไดโดยเปรียบเทียบหาคา ความแตกตางระหวางประสบการณที่นักศึกษาไดรับจากการใชงานจริง และระดับการใหบริการที่. เมื่อพิจารณาความพึงพอใจที่แทจริงตามทฤษฎีการไมสอดคลองกับความคาดหวังในแต. 4.3 ผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบความสัมพันธของปจจัยสวนบุคคล และปจจัยดานคุณภาพการใหบริการของระบบบริการอิเล็กทรอนิกส กับระดับความพึงพอใจ คุณภาพการใหบริการของระบบบริการอิเล็กทรอนิกส กับระดับความพึงพอใจ. ตาราง 34 ผลการทดสอบความแปรปรวนทางเดียวในการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ ความพึงพอใจตอระบบบริการอิเล็กทรอนิกส ของนักศึกษาระดับ ความพึงพอใจตอระบบบริการอิเล็กทรอนิกส ของนักศึกษาระดับ. ปจจัยการใหบริการ ความพึงพอใจตอระบบบริการอิเล็กทรอนิกส. ในระดับปานกลาง ดังรายละเอียดตามตารางที่ 37. 8) ความสวยงามของการออกแบบระบบ 0.46*.

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล ขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย

อภิปรายผล

ขอเสนอแนะ

บรรณานุกรม

McKinney, Vicki McKinney, Kanghyun Yoon, Fatemeh Mariam, Zahedi. "The Measurement of Web Customer Satisfaction: An Expectation and Disconfirmation Approach." Information systems research. Modeling the Determinants of Customer Satisfaction for Business-to-Business Professional Services." Journal of the Academy of Marketing Science. Service Provider Performance on the Satisfaction and Loyalty of Store Managers in the Quick-Flood Industry." Journal of Operations Management.

Customer satisfaction with an e-service: the case of an online recruitment portal.” Yearbook of Service Management; 2002. Zeithaml, Valarie A., Parasuraman, A. and Malotra.Arvind. "A Conceptual Framework for Understanding E-Service Quality: Implications for Future Research and Managerial Practice." Working document no.

ภาคผนวก ข

Referensi

Dokumen terkait

อภิปรายผล จากการค้นคว้าอิสระเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าพักโฮสเทลของนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติในอ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ อภิปรายผลการวิจัย ได้ดังต่อไปนี้