• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE EDUCATIONAL ADMINISTRATION  OF VOCATIONAL AND UPPER SECONDARY CURRICULUM (DUAL EDUCATION) IN THE EASTERN SPECIAL DEVELOPMENT ZONE

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE EDUCATIONAL ADMINISTRATION  OF VOCATIONAL AND UPPER SECONDARY CURRICULUM (DUAL EDUCATION) IN THE EASTERN SPECIAL DEVELOPMENT ZONE"

Copied!
296
0
0

Teks penuh

THE EDUCATION MANAGEMENT OF VOCATIONAL AND SUPPLEMENTARY EDUCATION (DUAL EDUCATION) IN THE EASTERN SPECIAL DEVELOPMENT ZONE. The objectives of this thesis were as follows: (1) to study the current conditions and problems with education administration in the vocational and upper secondary curriculum (dual education) in the Eastern Special Development Zone; (2) establishing guidelines for education administration in the vocational and upper secondary curriculum (dual education) in the Eastern Special Development Zone; (3) reviewing the guidelines for educational administration in the vocational and upper secondary curriculum (dual education) in the Eastern Special Development Zone.

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ

การพัฒนาก าลังคนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานท า

การศึกษาเพื่อการพัฒนาประเทศ

แนวคิดเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างองค์การ

การบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียน

การบริหารจัดการในโรงเรียน

แนวทางการบริหารจัดการด้วยวิธีระบบ

แนวคิดและทฤษฎีการประเมิน

ทฤษฎีการประเมิน

การประเมินความต้องการจ าเป็น

แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบและการพัฒนารูปแบบ: การประยุกต์ใช้

ความหมายของรูปแบบ

ประเภทของรูปแบบ

ลักษณะของรูปแบบที่ดี

การพัฒนารูปแบบ

การทดสอบรูปแบบ

แนวทางการบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ มัธยมศึกษาตอนปลาย

การบริหารจัดการศึกษา

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยในประเทศ

งานวิจัยต่างประเทศ

คณะกรรมการนโยบายระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ได้กำหนดแผนการสร้างกำลังคนเพื่อรองรับการเติบโตของ EEC ตั้งแต่การประเมินความต้องการบุคลากรและโครงสร้างพื้นฐานว่าภายใน 5 ปีในพื้นที่จะต้องใช้แรงงานประมาณ 475,667 คน การประสานการพัฒนาบุคลากรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC-HDC) เพื่อส่งเสริมยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับผู้เชี่ยวชาญและสถาบันที่มีอยู่ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และเป็นการจัดการเรียนการสอนในระบบ Education 4.0 และใช้เป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอน การจัดการศึกษาใน 7 โมดูล ความพึงพอใจของผู้รับบริการ จึงนิยมใช้ IPO Model เป็นกรอบในการบริหารจัดการระบบ การจัดการศึกษาตามกรอบรูปแบบ IPO มีองค์ประกอบดังนี้

แสดงผู้ให้ข้อมูลส าคัญในการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหา

แสดงความต้องการจ าเป็นด้านการบริหารจัดการ

แสดงความต้องการจ าเป็นด้านการบริหารวิชาการ

แสดงความต้องการจ าเป็นด้านการบริหารบุคคล

แสดงความต้องการจ าเป็นด้านการบริหารงบประมาณ

แสดงความต้องการจ าเป็นด้านการบริหารสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี

แสดงประเด็นส าคัญจากการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ

แสดงประเด็นค าตอบจากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

แสดงสภาพปัจจุบันด้านการบริหารจัดการ

แสดงสภาพปัจจุบันด้านการบริหารวิชาการ

แสดงสภาพปัจจุบันด้านการบริหารบุคคล

แสดงสภาพปัจจุบันด้านการบริหารงบประมาณ

แสดงสภาพปัจจุบันด้านการบริหารสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี

แสดงสภาพปัญหาด้านการบริหารจัดการ

แสดงสภาพปัญหาด้านการบริหารวิชาการ

แสดงสภาพปัญหาด้านการบริหารบุคคล

แสดงสภาพปัญหาด้านการบริหารงบประมาณ

แสดงสภาพปัญหาด้านการบริหารสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี

แสดงความพึงพอใจที่มีต่อด้านการบริหารจัดการ

แสดงความพึงพอใจที่มีต่อด้านการบริหารวิชาการ

แสดงความพึงพอใจที่มีต่อด้านการบริหารบุคคล

แสดงความพึงพอใจที่มีต่อด้านการบริหารงบประมาณ

แสดงความพึงพอใจที่มีต่อด้านการบริหารสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี

แสดงข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ

แสดงผลการประเมินด้านการบริหารจัดการ

แสดงผลการประเมินด้านการบริหาวิชาการ

แสดงผลการประเมินด้านการบริหารบุคคล

แสดงผลการประเมินด้านการบริหารงบประมาณ

แสดงผลการประเมินด้านสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี

แสดงผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการศึกษาด้านการบริหารจัดการ

แสดงผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการศึกษาด้านการบริหารวิชาการ

แสดงผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการศึกษาด้านการบริหารบุคคล

แสดงผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการศึกษาด้านการบริหารงบประมาณ

แสดงผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการศึกษาด้านการบริหารสื่อ นวัตกรรม และ

แสดงผลการประเมินในภาพรวมทั้ง 5 ด้าน

แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเกิดขึ้นเนื่องจากเป็นนโยบายส าคัญของรัฐบาล ซึ่ง ก าหนดให้มี “เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก” เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศ โดยริเริ่ม ให้มีโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก” (Eastern Economic Corridor: EEC) เป็นยุทธศาสตร์ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการพัฒนาเชิงพื้นที่ เป็นการต่อยอด ความส าเร็จของแผนพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Seaboard) ซึ่งได้ด าเนินการ มาแล้วกว่า 30 ปี มีส านักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (สกรศ) เป็น ผู้รับผิดชอบ ก าหนดเป้าหมายไว้เพื่อการเติมเต็มภาพรวมการส่งเสริมการลงทุน ยกระดับ อุตสาหกรรมของประเทศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และท าให้เศรษฐกิจของไทยเติบโต ได้ในระยะยาว ในระยะแรกยกระดับพื้นที่ในเขต 3 จังหวัด คือชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ให้เป็น พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษที่รองรับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ บริหารจัดการ ภายใต้การก ากับดูแลของคณะกรรมการนโยบายพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก, 2560) ในปัจจุบันมี. เพื่อพัฒนาบุคลากรรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชั้นน าของ อาเซียน และส่งเสริม 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อให้เป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต ด าเนินการในจังหวัดชลบุรี ระยอง และ ฉะเชิงเทรา แผนงานพัฒนาประกอบด้วย1) แผนงาน พัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ 2) แผนงานพัฒนาคมนาคมและโลจิสติกส์ 3) แผนงานพัฒนาเมือง ระบบสาธารณูปโภค สิ่งแวดล้อมเมืองท่องเที่ยว และการบริหารจัดการ รวม 173 โครงการ ใน กรอบวงเงินลงทุนรวม 712,645 ล้านบาท ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการวางแผนพัฒนา ก าลังคนให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของ EEC เน้นการเพิ่มขีดความสามารถครู บุคลากรทางการศึกษา และครูฝึกในสถานประกอบการ ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้อง Super Cluster/ Cluster New Engine of Growth เน้นหลักสูตร เชิงเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน น านวัตกรรมการสอนใหม่ ๆ มา ปรับใช้เพิ่มหลักสูตรทักษะเฉพาะทาง.

แสดงความต้องการแรงงานในเขต EEC ปี 2562-2566

มีการพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามที่หลักสูตรก าหนด การบริหารจัดการครอบคลุมงานต่าง ๆ ตามภารกิจหลักของโรงเรียน ควรสอดคล้องกับกฏกระทรวงกฎกระทรวงก าหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการกระจายอ านาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ.2550 (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 วันที่ 16 พฤษภาคม 2550) รวมทั้งตามประกาศของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรองรับกฏกระทรวงดังกล่าวข้างต้น ประกาศส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเรื่อง. การกระจายอ านาจการบริหารและจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปยังคณะกรรมการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2550 ก าหนดหน้าที่ของสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคลไว้ 4 ด้าน ได้แก่ การบริหารด้านวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารบุคคล และการบริหารทั่วไป ดังต่อไปนี้. เป็นภารกิจหลักของโรงเรียน ซึ่งคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาก าหนดให้. 3) การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 4) การพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียน 5) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้. การประเมินและรายงานผล ด้านการบริหารจัดการ 3.14 0.35 ปานกลาง. การประเมินและรายงานผลด้านการบริหารงบประมาณ 3.04 0.20 ปานกลาง. ในระดับปานกลาง และมีความเห็นไปในทางเดียวกัน. ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นมามีวิทยาลัยหลายแห่ง สังกัดส านักงานคณะกรรมการ อาชีวศึกษาหลายแห่งที่ตั้งอขู่ในเขตพัฒนาพิเศษพิเศษภาคตะวันออก ได้เปิดหลักสูตรหลายสาขา เพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยเรียกว่า “หลักสูตรอาชีวะ พันธุ์ใหม่และสัตหีบโมเดล” ได้แก่ สาขายานยนต์สมัยใหม่ สาขาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ สาขาการ ท่องเที่ยว สาขาเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาการแปรรูปอาหาร สาขาหุ่นยนต์เพื่อการ อุตสาหกรรม สาขาการบินและโลจิสติกส์ และสาขาเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ซึ่งยกเว้น เพียงสาขาการแพทย์ครบวงจรเท่านั้น (ส านักงานคณะกรรมมการการอาชีวศึกษา. 2561).

แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ ความมุ่งหวัง และผลการด าเนินงาน

แสดงกรอบส าคัญของการประเมิน

แสดงองค์ประกอบย่อยของระบบ

แสดงขั้นตอนการวิจัย

แสดงผังมโนทัศน์ของการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ

แสดงตัวอย่างกิจกรรมการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ

แสดงผังมโนทัศน์ของแนวทางการบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตร

Referensi

Dokumen terkait

Explaining burnout of working women with an emphasis on the role of organizational and psychological variables Case study: Technical & Vocational and Islamic Azad University of