• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงประเด็นค าตอบจากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

พฤติกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งการขาดความรู้และทักษะพื้นฐานวิชาชีพ ซึ่งส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ของโครงการด้วย ประเด็นที่น่าสนใจมากคือเกี่ยวกับความต่อเนื่องใน ระดับนโยบายที่ควรชัดเจนและต่อเนื่อง โดยในส่วนของโรงเรียนและวิทยาลัยนั้นได้มุ่งมั่นในการ แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติอยู่แล้ว หน่วยเหนือควรให้การสนับสนุนทรัพยากรด้านต่าง ๆ อย่าง เพียงพอ

1.4.3 ผลการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารจัดการจัดการศึกษา เรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ดังตาราง 8

ตาราง 8 (ต่อ)

ที่ ประเด็นค าถาม ประเด็นค าตอบ 6. การบริหารวิชาการ โดยภาพรวม เป็น

อย่างไร

- การบริหารด้านวิชาการโดยภาพรวมเป็นที่น่าพอใจแต่มี

ข้อจ ากัด พอสมควร เช่น รายวิชาอาชีพที่ต้อง เลือกให้

เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและชุมชน

- รายวิชา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายในเขต EEC ยังไม่มี

ในหลักสูตร

- การเรียนการสอนควรร่วมกันจริงจัง 7. ปัจจัยการบริหารวิชาการ หลักสูตร

หนังสือเรียน แหล่งเรียนรู้ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ มีเพียงพอหรือไม่ อย่างไร

- ปัจจัยด้านการบริหารวิชาการมีความเพียงพอ

ขาดห้องปฏิบัติการ ซึ่งอาศัยห้องปฏิบัติการของวิทยาลัย 8. กระบวนการบริหารวิชาการ เหมาะสม

หรือไม่ อย่างไร

- กระบวนการเรียนการสอนต้องอาศัยความร่วมมือใน ระดับสูงและต่อเนื่อง

- การบริหารวิชาการโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี

9. ผลการบริหารวิชาการ เป็นอย่างไร - ผลการบริหารวิชาการ พบว่า มีปัญหาด้านพฤติกรรม ความสนใจของนักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต ่า ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ

- นักเรียนยังขาดความรู้และทักษะการเรียนรู้วิชาชีพที่

ส าคัญและจ าเป็น 10. มีความพึงพอใจต่อการบริหารวิชาการ

หรือไม่ ในระดับใด

- โดยภาพรวมมีความพึงพอใจต่อการบริหารด้านวิชาการ อยู่ในระดับปานกลาง

11. การบริหารบุคคล โดยภาพรวม เป็นอย่างไร - โดยภาพรวมไม่มีปัญหาด้านบริหารบุคคล แต่ขาด ขวัญก าลังใจและขาดระบบการพัฒนาครูที่ต่อเนื่อง 12. ปัจจัยการบริหารบุคคล อาทิ จ านวนครู/

อาจารย์ และบุคลากร/เจ้าหน้าที่ มี

เพียงพอหรือไม่ อย่างไร

- ปัจจัยด้านปริมาณเพียงพอ แต่ขาดการสนับสนุนครูและ บุคลากร เช่น ค่าตอบแทน และขวัญก าลังใจ

13. กระบวนการบริหารบุคคล เหมาะสมหรือไม่

อย่างไร

- กระบวนการบริหารบุคคลไม่มีปัญหาเพราะเป็นไปตาม ระเบียบทางราชการ

- ขาดการประสานงาน/ปฏิสัมพันธ์ด้านบุคคลของทั้ง โรงเรียนและวิทยาลัย

ตาราง 8 (ต่อ)

ที่ ประเด็นค าถาม ประเด็นค าตอบ 14. ผลการบริหารบุคคล เป็นอย่างไร - ผลการบริหารบุคคลอยู่ในระดับที่น่าพอใจ 15. มีความพึงพอใจต่อการบริหารบุคคลหรือไม่

ในระดับใด

- มีความพึงพอใจในการบริหารบุคคลในระดับปานกลาง 16. การบริหารงบประมาณ โดยภาพรวม เป็น

อย่างไร

- การบริหารงบประมาณโดยภาพรวมไม่มีปัญหา เพราะ ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการที่เคร่งครัด

- ยังขาดงบประมาณที่เพียงพอ 17. ปัจจัยการบริหารงบประมาณ อาทิ

งบประมาณที่ได้รับจัดสรร เอกสารเกี่ยวกับ การเงิน/บัญชี วัสดุ/ครุภัณฑ์ที่จ าเป็น มี

เพียงพอหรือไม่ อย่างไร

- ปัจจัยการบริหารด้านงบประมาณมีความขาดแคลน งบประมาณน้อย และไม่ได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยเหนืออย่างเพียงพอ

- ขาดวัสดุและครุภัณฑ์ที่ทันสมัย 18. กระบวนการบริหารงบประมาณ เหมาะสม

หรือไม่ อย่างไร

- กระบวนการบริหารงบประมาณเป็นไปตามระเบียบ กฎหมายโดยเคร่งครัด

19. ผลการบริหารงบประมาณ เป็นอย่างไร - ผลการบริหารงบประมาณเป็นที่น่าพอใจอยู่ในระดับ มาก

- ทางราชการไม่เกิดความเสียหาย 20. มีความพึงพอใจต่อการบริหารงบประมาณ

หรือไม่ ในระดับใด

- ความพึงพอใจต่อด้านการบริหารงบประมาณอยู่ใน ระดับมาก

21. การบริหารสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี

โดยภาพรวม เป็นอย่างไร

- การบริหารจัดการด้านสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี

โดยภาพรวมในระดับดี

22. ปัจจัยการบริหารสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยี อาทิ สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรม เพื่อการบริหารจัดการ/เพื่อการ จัดการเรียนการสอน คอมพิวเตอร์ ระบบ อินเทอร์เนต เพียงพอหรือไม่ อย่างไร

- ปัจจัยการบริหารสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีคือขาด งบประมาณเพื่อการจัดซื้อสื่อและทคโนโลยที่ทันสมัย

23. กระบวนการบริหารสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยี เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร

- กระบวนการบริหารจัดการเป็นไประเบียบทางราชการ (จัดซื้อจัดจ้าง)

24. ผลการบริหารด้านสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยี เป็นอย่างไร

- ผลการบริหารด้านสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีอยู่ใน ระดับที่น่าพอใจ

25. มีความพึงพอใจต่อการบริหารสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี หรือไม่ ในระดับใด

- มีความพึงพอใจต่อการบริหารด้านสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีอยู่ในระดับปานกลางถึงระดับมาก

จากตารางจะเห็นได้ว่า ประเด็นค าตอบจากการสัมภาษณ์ มีความส าคัญ และแสดงถึงการผลการด าเนินงานตามโครงการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ที่ผ่านมาพบว่าในภาพรวม การบริหารจัดการ มีข้อมูลเชิงคุณภาพที่ส าคัญและน่าสนใจหลายประการ รวมทั้งส่งผลกระทบต่อ การจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ด้วย

ประเด็นที่น่าสนใจ ได้แก่ มุมมองของผู้บริหาร ครูอาจารย์ และบุคลากร มี

ความเห็นไปในทางเดียวกันคือพร้อมที่จะปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและสังคมส่วนรวม แต่ยังพบอุปสรรคในหลายประการ ซึ่งหากได้รับการแก้ไขหรือพัฒนาก็มั่นใจว่าการจัดการศึกษา เรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ ส่วน นักเรียนและผู้ปกครองให้ความสนใจในประเด็นการจัดการเรียนการสอนและประเด็นภาระ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปเรียนที่วิทยาลัย รวมทั้งประเด็นการร่วมกันดูแลช่วยเหลือนักเรียนใน ด้านต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และทักษะวิชาอาชีพที่เพียงพอ

1.4.4 ผลการสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อสภาพปัจจุบันและปัญหาการ บริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ในเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ดังนี้

1) สภาพปัจจุบันการบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษา และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ดังตาราง 9 -13