• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงประเด็นส าคัญจากการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ

ที่ ประเด็นค าถาม ประเด็นค าตอบ 1. การจัดท าและออกประกาศนโยบาย

โรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษาเรียนร่วมฯ (ทวิศึกษา) ที่

สอดคล้องกับนโยบายของหน่วย เหนือ ได้ด าเนินการหรือไม่ อย่างไร

- นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการมีความไม่มั่นคง และเปลี่ยนแปลงรวดเร็วเกินไป

- การแปลงนนโยบายสู่การปฏิบัติยังมีประสิทธิภาพต ่า - โรงเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่ก าหนด

2. มีการจัดตั้งงบประมาณและ ค่าใช้จ่าย เพื่อการจัดการศึกษาเรียน ร่วมฯ (ทวิศึกษา) เป็นการเฉพาะ หรือไม่ อย่างไร

- โรงเรียนก าหนดงบประมาณเอง และไม่ได้รับการสนับสนุน จากหน่วยเหนือ

- วิทยาลัยไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นการเฉพาะ 3. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่

เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาเรียน ร่วมฯ (ทวิศึกษา) ที่สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ หลักสูตร ปวช. พ.ศ.2556 ความต้องการของ นักเรียน ชุมชนและท้องถิ่น หรือไม่

อย่างไร

- การพัฒนาหลักสูตรสับสนพอสมควร ขาดการร่วมมือกันของ ทั้งหน่วยงานคือโรงเรียนและวิทยาลัยเท่าที่ควร

- มีข้อจ ากัดเรื่องการเลือกรายวิชาอาชีพ (9 สาขาวิชา) ให้

เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและความต้องการ/ความ สนใจของนักเรียน/ ชุมชน

- ไม่มีการสอบถามความต้องการผู้ปกครองและชุมชน ท้องถิ่น

4. การเลือกและก าหนดรายวิชาอาชีพ (ปวช.) ไว้ในกลุ่มสาระการเรียน เพิ่มเติมของหลักสูตรหลักสูตร สถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษาเรียนร่วมฯ (ทวิศึกษา) ที่มี

รายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ 10

อุตสาหกรรมเป้าหมายในเขต EEC หรือไม่ อย่างไร

- ระยะแรกยังไม่น ารายวิชา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย มาบรรจุไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมของหลักสูตร เรียนร่วม มีการให้ความรู้เพิ่มเติมในระยะต่อมา - มีการจัดกิจกรรมพัฒนา 1) ภาษาอังกฤษและ

ภาษาต่างประเทศที่สองเพื่อการสื่อสาร 2) วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 3) กิจกรรมวิชาการอื่น ๆ ที่หลากหลาย

ตาราง 7 (ต่อ)

ที่ ประเด็นค าถาม ประเด็นค าตอบ 5. การจัดการเรียนการสอน ตาม

หลักสูตรการศึกษาเรียนร่วมฯ (ทวิ

ศึกษา) มีการส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพการจัดการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง หรือไม่ อย่างไร

- ทั้งโรงเรียนและวิทยาลัยร่วมมือกันจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรทวิศึกษา

- มีข้อจ ากัดของนักเรียนด้านความรู้และทักษะวิชาชีพ พื้นฐาน, ทักษะการปฏิบัติ

- มีปัญหาการเดินทางไปเรียนที่วิทยาลัย - เวลาในการร่วมกิจกรรมที่วิทยาลัยมีน้อย 6. มีการออกระเบียบ ข้อบังคับ

ประกาศ และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่

จ าเป็นต่อการจัการศึกษาเรียนร่วม ฯ (ทวิศึกษา) หรือไม่ อย่างไร

- ด าเนินการตามคู่มือปฏิบัติการทวิศึกษาและพยายาม ด าเนินงานให้ดีที่สุด

7. มีการก ากับ ติดตาม ประเมินผล การด าเนินงานตามโครงการจัด การศึกษาเรียนร่วมฯ (ทวิศึกษา) หรือไม่ อย่างไร

- เป็นขั้นตอนปฏิบัติตามปกติอยู่แล้วแต่ยังขาดความเป็น ระบบและต่อเนื่อง

8. ได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. และหรือ สอศ. หรือไม่

อย่างไร

- ไม่ได้รับงบประมาณสนับสนุนที่ชัดเจน - โรงเรียนบริหารจัดการเองในแต่ละปี

9. มีจัดให้มีครูและบุคลากรเพื่อจัด การศึกษาเรียนร่วมฯ อย่าง เพียงพอหรือไม่ อย่างไร

- มีครูผู้สอนเพียงพอ แต่ขาดผู้มีทักษะด้านการปฏิบัติใน วิชาชีพ

- ธรรมชาติการสอนแตกต่างกันระหว่างสายสามัญกับสาย อาชีพ

ตาราง 7 (ต่อ)

ที่ ประเด็นค าถาม ประเด็นค าตอบ 10. มีกิจกรรมการสร้างเสริมความ

สัมพันธ์อันดี ระหว่างโรงเรียนกับ ชุมชน และระหว่างโรงเรียนกับ วิทยาลัยที่ร่วมจัดการศึกษาเรียน ร่วมหรือไม่ อย่างไร

- มีเพียงกิจกรรมทางวิชาการ (การเรียนการสอน) เท่านั้น - ส่วนใหญ่ทั้งโรงเรียนและวิทยาลัยต่างมีภาระงาน ค่อนข้างมากอยู่แล้ว

11. การบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมฯ (ทวิศึกษา) ด าเนินการเป็นระบบ หรือไม่ อย่างไร

- ด าเนินการตามค าแนะน าในคู่มือการจัดทวิศึกษา ยังขาด ความสมบูรณ์ของระบบ

12. ความร่วมมีอกันเป็นอย่างดี

ระหว่างโรงเรียนกับวิทยาลัย หรือไม่ อย่างไร

- จัดการเรียนการสอนร่วมกันเท่านั้น จึงไม่มีกิจกรรมความ ร่วมมืออื่น ๆ มากนัก

13. การบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมฯ (ทวิศึกษา) ที่ผ่านมา มีปัญหาหรือไม่

อย่างไร

- มีปัญหาด้านนโยบาย การประชาสัมพันธ์ ขาดงบประมาณ (การบริหาร ค่าตอบแทนครู ค่าใช้จ่ายของนักเรียนในการ เดินทางไปเรียน ผลการเรียนค่อนข้างต ่า เทียบโอนผล การเรียนไม่ได้ ความมุ่งมั่นตั้งใจและภาระที่เพิ่มมากขึ้น 14. มีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการจัด

การศึกษาเรียนร่วมฯ (ทวิศึกษา) หรือไม่ ในระดับใด

- ด้านผลสัมฤทธิ์ของโครงการอยู่ในระดับน้อย

- โดยภาพรวมแล้วมีความพึงพอใจต่อโครงการทวิศึกษาใน ระดับ “น้อย”

15. โครงการจัดการศึกษาเรียนร่วมฯ (ทวิ

ศึกษา) มีประโยชน์หรือไม่ สมควร ด าเนินการต่อไปหรือไม่

- โครงการทวิศึกษาเป็นโครงการที่มีหลักการที่ดี เป็นโครงการ ที่มีประโยชน์ สมควรสร้างประโยชน์เพื่อนักเรียนและสังคม ต่อไป

จากตารางจะเห็นได้ว่า ประเด็นค าตอบจากการสัมภาษณ์ มีความส าคัญ และแสดงถึงการด าเนินงานตามโครงการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยภาพรวมพบว่าข้อมูล เชิงคุณภาพที่ได้รับจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียนและผู้บริหารวิทยาลัยซึ่งรับผิดชอบการ ด าเนินงานตามโครงการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า มีประเด็นที่น่าสนใจหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องนโยบายที่มีการเปลี่ยนแปลง ความถนัดและความสนใจของนักเรียน

พฤติกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งการขาดความรู้และทักษะพื้นฐานวิชาชีพ ซึ่งส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนและผลสัมฤทธิ์ของโครงการด้วย ประเด็นที่น่าสนใจมากคือเกี่ยวกับความต่อเนื่องใน ระดับนโยบายที่ควรชัดเจนและต่อเนื่อง โดยในส่วนของโรงเรียนและวิทยาลัยนั้นได้มุ่งมั่นในการ แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติอยู่แล้ว หน่วยเหนือควรให้การสนับสนุนทรัพยากรด้านต่าง ๆ อย่าง เพียงพอ

1.4.3 ผลการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารจัดการจัดการศึกษา เรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ดังตาราง 8