• Tidak ada hasil yang ditemukan

EFFECTS OF JOB DEMANDS, JOB CONTROLS AND SOCIAL SUPPORT ON OCCUPATIONAL STRESS OF AUDITORS IN THAILAND

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "EFFECTS OF JOB DEMANDS, JOB CONTROLS AND SOCIAL SUPPORT ON OCCUPATIONAL STRESS OF AUDITORS IN THAILAND"

Copied!
105
0
0

Teks penuh

THE EFFECTS OF JOB DEMANDS, JOB CONTROL AND SOCIAL SUPPORT ON THE OCCUPATIONAL STRESS OF AUDITORS IN THAILAND. Caption THE EFFECTS OF JOB DEMANDS, JOB CONTROL, AND SOCIAL SUPPORT ON THE OCCUPATIONAL STRESS OF AUDITORS IN THAILAND. The purpose of this study is to study the effects of job demands, job controls, social support and occupational stress of auditors in Thailand.

ความเครียดจากการท างาน (Occupational stress)

ความหมายของความเครียดจากการท างาน

ความเครียดจากการท างานของอาชีพผู้สอบบัญชี

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความเครียด

สาเหตุของความเครียดจากการท างาน

ระดับของความเครียด

ผลกระทบของความเครียดจากการท างาน

แนวทางป้องกันความเครียดจากการท างาน

แบบจ าลองที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่มีผลต่อความเครียดจากการท างาน

แบบจ าลองข้อเรียกร้องจากงาน และความสามารถในการควบคุมงาน (Job demands

  • ข้อเรียกร้องจากงาน
  • ความสามารถในการควบคุมงาน

แบบจ าลองข้อเรียกร้องจากงาน ความสามารถในการควบคุมงาน และการสนับสนุน

  • การสนับสนุนทางสังคม

ตัวแปรก ากับ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

กรอบงานวิจัย

จากการทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่านักวิจัยหลายท่าน ได้ศึกษาปัจจัยข้อเรียกร้องจากงาน เช่น แบบจ าลองข้อเรียกร้องจากงาน และความสามารถในการ ควบคุมงาน (Job demands control model; JDC model) และแบบจ าลองข้อเรียกร้องจากงาน ความสามารถในการควบคุมงาน และการสนับสนุนทางสังคม (Job demand control support model; JDCS model) ที่อธิบายว่าข้อเรียกร้องจากงานที่สูงจะส่งผลให้พนักงานเกิดความเครียด จากการท างาน (Johnson & Hall, 1988; Karasek Jr, 1979) นอกจากนี้ผลการศึกษาของ Fox, Dwyer, and Ganster (1993) ที่พบว่าข้อเรียกร้องจากงานทางด้านจิตวิทยา เช่น ปริมาณงาน ความขัดแย้งส่วนตัวในที่ท างาน แรงกดดันจากงาน เป็นปัจจัยที่น าสู่ความเหนื่อยล้าและ ความเครียดจากการท างาน ผลการศึกษาของ Van Vegchel, De Jonge, and Landsbergis (2005) ที่พบว่าการเพิ่มขึ้นของข้อเรียกร้องจากงานน าไปสู่ความเครียดจากการท างาน. นอกจากนั้น Singh, Goolsby, and Rhoads (1994) ให้ค าอธิบาย เพิ่มเติมว่าข้อเรียกร้องจากงานเป็นปัจจัยที่ท าให้เกิดความเหนื่อยหน่ายในงานส่งผลต่อผลลัพธ์. พนักงานจะยังคงท างานอย่างไร้ประสิทธิภาพ ซึ่งประสบการณ์ความเหนื่อยหน่ายในงานจะท าให้. 29 พฤติกรรม เช่น ประสิทธิภาพการท างานที่ลดลง ความสามารถในการควบคุมท างานที่ลดลง ความ อ่อนล้าในร่างกาย การด้อยค่าของความพยายามในการท างาน การท างานอย่างไร้ประสิทธิภาพ ความเหนื่อยหน่ายในงาน งานวิจัยของ Gatt et al. ความสัมพันธ์เชิงลบอย่างมีนัยส าคัญต่อการขาดงาน ผลการศึกษาของ Hurrell and McLaney (1989) พบว่าความสามารถในการควบคุมงานเป็นปัจจัยที่ช่วยเพิ่มความพึงพอใจในงานได้ ผล การศึกษาของ Fox et al.

31 ความสามารถในการควบคุมงานส่งผลกระทบอย่างมาก (2548) Van Vegchel et al. การควบคุมงานจะทำให้ความเครียดในการทำงานลดลง

การก าหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย

การพัฒนาเครื่องมือวิจัย

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การจัดกระท า และวิเคราะห์ข้อมูล

การถดถอยของปฏิสัมพันธ์ระหว่างความต้องการงาน และความสามารถในการควบคุมงานตาม -.171 (p <.05) และความเครียดในการทำงานของกลุ่มที่มีความสามารถในการควบคุมงานสูงและกลุ่มที่มีความสามารถในการควบคุมงานต่ำ สรุป อภิปรายและเสนอแนะ ที่ระดับ .05 และผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างความต้องการงานกับความสามารถในการควบคุมงานสามารถทำนายความเครียดจากการทำงานได้ร้อยละ 44.0 (R2 = 0.440) แต่เมื่อพิจารณาอิทธิพลของความสามารถในการควบคุมงานและการสนับสนุนทางสังคม ผลกระทบต่อความเครียดจากการทำงานพบว่าไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) เนื่องจากความสามารถในการควบคุมงาน และการสนับสนุนทางสังคมเป็นตัวแปรตามติดตามระดับอิทธิพลของตัวแปรความต้องการงานต่อความเครียดในงาน

The relationship of job stress with turnover intention and job performance: Moderating role of OBSE. The impact of the antecedents and consequences of job burnout on junior accountants' turnover intentions: a structural equation modeling approach. Occupational sources of stress: A review of the literature related to coronary heart disease and mental illness.

A longitudinal test of the demand response model using specific job demands and specific job control. Effects of stressful job demands and control on physiological and attitude outcomes in a hospital setting. Occupational stress and job satisfaction in the North Wales municipal dental service: a pilot study.

Workload, social support at work and cardiovascular disease: a cross-sectional study of a random sample of the Swedish working population. Disasters and the heart: a review of the effects of earthquake-induced stress on cardiovascular disease. A study of the relationship between work stress, quality of working life and turnover intention in hospitals.

A qualitative application of the Job Demand-Control-Support (JDCS) to contextualize the occupational stress of correctional workers. Testing the job demand-control-support model with anxiety and depression as outcomes: Hordaland's health study. The job demand-control (-support) model and psychological well-being: a review of 20 years of empirical research.

Journal of Organizational Behavior: The International Journal of Industrial, Occupational and Organizational Psychology and Behavior. The relationship between job demands and teacher and staff stress: the impact of a job creation intervention.

แบบจ าลอง The Yerkes-Dodson law

แบบจ าลอง Job Demand Control Model

แบบจ าลอง Job demand control support model

แบบจ าลอง Baron and Kenny

กรอบแนวคิดวิจัย

การถดถอยของปฏิสัมพันธ์ระหว่างความต้องการงาน และความสามารถในการควบคุมงาน เท่ากับ - .171 (p < .05)

ภาพความสัมพันธ์ระหว่างข้อเรียกร้องจากงาน และความเครียดจากการท างาน

Referensi

Dokumen terkait

From the assumption above, the researcher formulate the hypothesis is by using Student Team achievements Division STAD technique in learning process, especially English Subject in