• Tidak ada hasil yang ditemukan

จะนะโมเดลในภารกิจพิชิตโควิด-19:กรณีศึกษา,โรงพยาบาลชุมชนจากความร่วมมือระหว่างหมอกับผู้นำการศึกษาศาสนาอิสลาม ผู้เขียน:นายอับดุลสุโก ดินอะ

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "จะนะโมเดลในภารกิจพิชิตโควิด-19:กรณีศึกษา,โรงพยาบาลชุมชนจากความร่วมมือระหว่างหมอกับผู้นำการศึกษาศาสนาอิสลาม ผู้เขียน:นายอับดุลสุโก ดินอะ"

Copied!
16
0
0

Teks penuh

(1)

"Chana Model" in the Mission to Conquer COVID-19: Case Study of Community Hospital Built On Collaboration Between Doctors and Islamic Education Leaders

Abdulsuko Din-a shukur2003@yahoo.co.uk

จ ะ น ะ โ ม เ ด ล ใ น ภ า ร กิ จ พิ ชิ ต โ ค วิ ด - 19:กรณีศึกษา,โรงพยาบาลชุมชนจากความร่วมมือระหว่างหมอกับผู้น าการศึกษาศาสนาอิส ลาม

ผู้เขียน:นายอับดุลสุโก ดินอะ1

"Chana Model" in the Mission to Conquer COVID-19: Case Study of Community Hospital Built On Collaboration Between Doctors and Islamic Education Leaders Author:Mr.Abdulsuko Din-a2

บทคัดย่อ

ก า ร ศึ ก ษ า ค รั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก คื อ เพื่อทราบโมเดลต่างๆของการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามของชุมชนจากความร่วมมือระหว่างห มอและผู้น าการศึกษาศาสนาอิสลามและน าเสนอนโยบายสาธารณะในการแก้ปัญหา

ใช้วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสนทนากลุ่ม (focus group) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับตัวแทนผู้ปฏิบัติงาน และเครือข่ายองค์กรภาคประชาชนภาคใต้

ผลการศึกษาพบว่า:

1. มี 3 โมเดลต่างของการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามของชุมชน

1.1 ศูนย์กักระดับองค์กร (OIC) โรงเรียนรุ่งโรจน์วิทยา 1.2 ศูนย์กักชุมชน CIC มัสยิดโคกเค็ต 1.3 โรงพยาบาลสนามโรงเรียนศาสนบ ารุง

2.น โ ย บ า ย ส า ธ า ร ณ ะ แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จัด ตั้ง โ ร ง พ ย า บ า ล ส า ม โมเดลที่บริหารโดยชุมชนเพื่อชุมชน

ค าส าคัญ โรงพยาบาล หมอ ผู้น าการศึกษาศาสนาอิสลาม และโควิด -19

"Chana Model" in the Mission to Conquer COVID-19: Case Study of Community Hospital Built On Collaboration Between Doctors and Islamic Education Leaders

Author:Mr.Abdulsuko Din-a

1ผู้อ านวยการศูนย ์อัลกุรอ่านและภาษา (QLCC) โรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ อ าเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย

2 Director of Quranic and Languages Center,Chariyathamsuksa Foundation School,Chana District,Songkhla Province,Thailand

(2)

466 Abstract

The main objectives of this study were to identify various models of community field hospital establishment through cooperation between doctors and leaders of Islamic education and to propose public policy solutions.

The study used the learning exchange method include of focus group and in-depth interviews with operator representatives and civil society organization network of southern.

The results showed that:

1. There were 3 different models of community field hospital establishment: (1) the Organizational Isolation Center (OIC) Rungroj Wittaya School (2) the Community Isolation Center (CIC) Khok Ket Mosque and (3) the Field Hospital Sassana Bamrung School 2. to propose public policy, the study recommended that each area in Thailand should establish 3 models of hospitals to deal with COVID-19 effectively which based on the principle of Community-Managed Model for Community.

Keyword: Hospital Doctor Leader of Islamic Education and Covid-19

บทน า

ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง เ ชื้ อ ไ ว รัส โ ค วิ ด -19ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ถื อ เ ป็ น เ ห ตุ ก า ร ณ์ ก า ร ร ะ บ า ด ค รั้ ง รุ น แ ร ง ที่ สุ ด ใ น ร อ บ ๑ ๐ ๐ ปี แ ล ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ทุ ก ภู มิ ภ า ค ข อ ง โ ล ก แ ล ะ ค น ไ ท ย ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ซึ่งผลกระทบนี้ยังส่งผลให้กับคนในอ าเภอจะนะ จังหวดสงขลาอย่างเลียกเลี่ยงไม่ได้

ร า ย ง า น ข อ ง โ ร ง พ ย า บ า ล จ ะ น ะ พ บ ว่ า อันเนื่องมาจากผู้ป่วยโควิดมีจ านวนมากโรงพยาบาลจ าเป็นต้องเปิดโรงพยาบาล เพราะโรงพยาบาลมีเตียงไม่พอ โดยพบว่ามีผู้ป่วย จ านวน 137 คนอยู่โรงพยาบาลจะนะ 112 ค น อ ยู่ โ ร ง พ ย า ล ส น า ม โ ร ง เ รี ย น จ ะ น ะ วิ ท ย า แ ล ะ 111 ค น อ ยู่ โ ร ง พ ย า บ า ล ส น า ม โ ร ง เ รี ย น ศ า ส น บ า รุ ง 62 ค น แ ล ะ 46ค น โรงพยาบาลสนามโรงเรียนตาดีกา (ข้อมูลวันที่ ๑๐กรกฎาคม ๒๕๖๔)

อติรุจ ดือเระ 3อดีตนักเรียนโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ อ าเภอจะนะ จังหวัดสงขลา สะท้อนว่า “ในวันที่พื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศมีผู้ติดเชื้อโควิดเพิ่มขึ้น และเตียงเต็มจนวิกฤติ

คนในกรุงเทพฯ ที่มีระบบสาธารณสุขดีที่สุดก็ไม่พ้นต้องนอนรอคอยเตียงด้วยโชคชะตา แต่ท าไมจะนะ อ าเภอเล็ก ๆ ในจังหวัดสงขลาที่มีจ านวนผู้ป่วยสะสมกว่ า 972 คน จึ ง ยัง มี เ ตี ย ง เ ห ลื อ พ อ ที่ จ ะ ต่ อ ชี วิ ต ช า ว บ้ า น ใ น ชุ ม ช น แ ล ะ ผ่ อ น แ ร ง ห ม อ พ ย า บ า ล ด่ า น ห น้ า ใ ห้ ส า ม า ร ถ จัด ก า ร กับ ผู้ ป่ ว ย ห นั ก - เ บ า ไ ด้ อ ย่ า ง เ ป็ น จึ ง ช ว น ถ อ ด ส ม ก า ร กู้ วิ ก ฤ ติ เ ตี ย ง เ ต็ ม ข อ ง อ า เ ภ อ จ ะ น ะ จัง ห วัด ส ง ข ล า ซึ่งอาศัยความร่วมมือสามฝ่ายคือบ้าน โรงเรียน และโรงพยาบาล”

3อติรุจ ดือเระ.2564. บทความวิชาการ :ถอดสมการจะนะเตียงเต็ม . (ระบบออนไลน์).

https://decode.plus/20210715/(29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562)

(3)

467

ไ ท ย พี บี เ อ ส 4

ได้รายงานความส าเร็จของโรงพยาบาลจะนะภายใต้การน าของนายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ เ ปิดโรงพยาบ าล ชุ มช น ว่า “วิกฤตโควิดที่เ ตียง โร ง พยา บ า ล ล้น ท าให้โรงพยาบาลจะนะร่วมมือกับชุมชน ผ่านผู้น าศาสนาอ าเภอจะนะเปิดศูนย์กักชุมชน (CIC หรือ Community isolated center) ซึ่งเปิดไปแล้ว 2 แห่ง ที่โรงเรียนตาดีกาประจ ามัสยิด โ ค ก เ ค็ ต แ ล ะ โ ร ง เ รี ย น รุ่ ง โ ร จ น์ วิ ท ย า กับหนึ่งโรงพยาบาลสนามของโรงเรียนศาสนบ ารุงอันเป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลา ม ที่ อ า ส า ช่ ว ย รัฐ ก า ลัง เ ป็ น โ ม เ ด ล ที่ อื่ น ๆ เ อ า เ ป็ น เ ยี่ ย ง อ ย่ า ง จ ะ น ะ โ ม เ ด ล นอกจากได้รับความสนใจในหลายพื้นที่ของจังหวัดชายแดนภาคใต้แล้วขนาดนี้ประมาณ

ไ ม่ ต ่ า ก ว่ า 30 ชุ ม ช น

ในกรุงเทพมหานครก าลังประชุมวางแผนที่จะปรับใช้ในกรุงเทพมหานครที่เตียงโรงพยาบาล ถึ ง ขั้ น วิ ก ฤ ต ต า ม ที่ เ ป็ น ใ น ห น้ า สื่ อ โ ซ เ ชี่ ย ล อย่างไรก็แล้วแต่โจทย์ใหญ่ในเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพมหานครจะต้องหาว่าโรงพยาบาลใดจ ะเป็นบัดดีท างานร่วมกับชุมชนนั้น ที่ส าคัญไม่แพ้กัน ความร่วมมือกับคนในชุมชน การสื่อสารกับชุมชนความร่วมไม้ร่วมมือกันของชุมชนในเมืองที่ต่างจากชุมชนในหมู่บ้านที่เ ข า พ ร้ อ ม อ า ส า ห า อ า ห า ร ห รื อ ท า อ า ห า ร ห า ที่ ห ลั บ ที่ น อ น เ ว ร ย า ม และอื่นๆทางโรงพยาบาลเพียงแค่จัดการเรื่องยา บริการทางการแพทย์เท่านั้น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1)เพื่อทราบโมเดลต่างๆของการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามของชุมชนจากความร่วมมือระหว่าง หมอและผู้น าการศึกษาศาสนาอิสลาม

2)น าเสนอนโยบายสาธารณะในการแก้ปัญหา วิธีด าเนินการวิจัย

งานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้ใช้แบบการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ก า ร ส น ท น า ก ลุ่ ม ( focus group) กั บ ตั ว แ ท น ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ เครือข่ายองค์กรภาคประชาชนภาคใต้

2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใน ครั้งนี้ คือ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม(focus group)

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

3.1 ก าหนดแผนการการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการสนทนากลุ่ม(focus group)

กั บ ตัว แ ท น ผู้ ป ฏิ บัติ ง า น แ บ บ เ จ า ะ จ ง น า ย แ พ ท ย์ สุ ภัร ฮ า สุ ว ร ร ณ กิ จ ผู้อ านวยการโรงพยาบาลจะนะ ตัวแทนหมอและตัวแทนผู้น าการศึกษา 3 คนคือนายนัสรูดีน กะจิ ผู้บริหารโรงเรียนรุ่งโรจน์วิทยา (ตัวแทนศูนย์กักระดับองค์กร โรงเรียนรุ่งโรจน์วิทยา) ดร.มังโสด หมะเ ต๊ะผู้บริหารโร งเ รียน สัน ติวิท ย์ ( ตัวแท น ศูนย์กักชุมชน CIC มัส ยิด โ ค ก เ ค็ ต ) แ ล ะ น าย ฮุส ณี บิน ห ะ ยี ค อ เ น า ะ ผู้บ ริห า ร โ ร ง เ รี ย น ศ า ส น บ ารุง (ตัวแทนโรงพยาบาลสนามโรงเรียนศาสนบ ารุง) และ เครือข่ายองค์กรภาคประชาชนภาคใต้

3.2 เมื่อได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์แล้วน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์

ผลการวิจัย

4 ลดเตียงล้น กักตัวโดยชุมชน. https://fb.watch/6rVc3XrB_z/

(30 มิถุนายน พ.ศ. 2562)

(4)

468 ผลการศึกษาพบว่า:

1. มี 3 โมเดลต่างของการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามของชุมชน

1.1 ศูนย์กักระดับองค์กร (OIC) โรงเรียนรุ่งโรจน์วิทยา 1.2 ศูนย์กักชุมชน CIC มัสยิดโคกเค็ต 1.3 โรงพยาบาลสนามโรงเรียนศาสนบ ารุง

1.1 ศูนย์กักระดับองค์กร (OIC) โรงเรียนรุ่งโรจน์วิทยา

โ ร ง เ รี ย น รุ่ ง โ ร จ น์ วิท ย า ห รื อ ป อ เ น า ะ ป า ดัง ล า ง า ตั้ง อ ยู่ ห มู่ ที่7 ต า บ ล บ้ า น น า อันเป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามภายใต้การน าของบาบอนัสรูดีน กะจิ

เ ปิ ด ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น ข อ ง ท่ า น “ ศู น ย์ กัก ร ะ ดับ อ ง ค์ ก ร Organization Isolation Center

(OIC)โ ด ย ท่ า น

ถือว่าเป็นผู้รู้ศาสนาหรือโต๊ะครูที่รับผิดชอบต่อสังคมมากๆยอมให้ให้สถาบันสอนศาสนา ของท่าน โดยท่านกล่าวว่า “โรงเรียนรุ่งโรจน์วิทยาได้เปิดศูนย์กักระดับองค์กร Organization Isolation Center (OIC) ครู และบุคลากรทางการศึกษากว่า 100 ชีวิตที่ต้องดูแลกว่า 2 อาทิตย์

อันเป็นจิตวิญญาณด้านศาสนาที่อิสลามสอนไว้แม้จะต้องลงทุนงบประมาณไม่รู้เท่าไรที่ต้อง ดูแลบุคลากรพร้อมครอบครัวเขาเพียงเพื่อไม่ให้เชื้อแพร่สู่ชุมชน” คุณ ศุภวรรณ ช น ะ ส ง ค ร า ม ผู้ จั ด ก า ร อ า ห า ร ปั น รั ก จ ะ น ะ ส ง ข ล า ใ ห้ ทั ศ น ะ ว่ า

“ ที่ นี่ เ ป็ น โ ม เ ด ล ห นึ่ ง ที่ ส า ม า ร ถ ที่ อื่ น ๆ เ อ า เ ป็ น แบบอย่างโดยเ ฉพา ะโรงงานอุตสาหกรรมใน พื้นที่ ” บาบอดิง นัสรูดิน กะจิ

ผู้บริหารโรงเรียนเล่าเพิ่มเติมว่า “หมู่บ้านข้างๆของโรงเรียนคือหมู่6 โควิดระบาดหนักมาก จากการตรวจกลุ่มเสี่ยงในชุมชน พบครูติดเชื้อ5คน จนน ามาสู่ active management โ ด ย ที ม ง า น ข อ ง โ ร ง เ รี ย น เ อ ง ดั ง นั้ น จึ ง ไ ด้ ป ร ะ ส า น มาที่โรงพยาบาลเพื่อให้มาตรวจswabครู100% ท าswabนั้นไม่ยาก โรงพยาบาลท าให้ได้

สิ่ ง ที่ ย า ก คื อ ห า ก พ บ เ ชื้ อ โ ค วิ ด แ ล้ ว จ ะ น อ น กั ก ตั ว รั ก ษ า ที่ ไ ห น นี่คือจุดตายในสถานการณ์ที่โรงพยาบาลมีผู้ป่วยล้นเตียง”

ท่านกล่าวอีกว่า “ใช่ที่มีภาวะเสี่ยง บางคนเนี่ยเมื่อมาที่โรงเรียนมาท า Ribbit tast แล้วก็กลับบ้านไม่ได้ แต่ลูกที่บ้านโดนSwab กับชุมชน ก็ไปติด พอลูกติด สามีติด สามีต้องไปอยู่โรงบาลสนาม สมมติไปอยู่ที่จะนะวิทยาสมมติ ผู้เป็นแฟน ผู้เป็นแม่

ที่อยู่โรงเรียนรุ่งโรจน์ก็ขอย้ายตัวเองไปอยู่ที่โรงพยาบาลพร้อม ๆ กับลูกและสามี

อะไรประมาณนี้ แต่ขอชื่นชมการดูแลของหมอ เราชื่นชม ทีมหมอและทีม PCU ว่าเมื่อถึงเวลาที่มันอัตคัดจริง ๆ แล้ว ทุกคนพร้อม ทุกคนพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือ ทุกคนพร้อมที่จะมา อาจเป็นความโชคดีที่ว่าเราเป็นคุณครูกันเราท าการวัดออกซิเจนกันเอง วัดความดันกันเอง เราสามารถรายงานความคืบหน้าของอาการแต่ละคนได้เอง ไ ด้ เ ร็ ว ด้ ว ย แ ล้ ว ก็ ไ ด้ รั บ ก า ร ต่ อ ย อ ด จ า ก ห ม อ ที ม ข อ ง ห ม อ เพื่อส่งต่อในระดับนึงเร็วยิ่งขึ้นอะไรประมาณนั้น”

นายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรณกิจ ผู้อ านวยการโรงพยาบาลจะนะ กล่าวว่า “ค าตอบสั้นๆและชัด บาบอดิงยืนยันว่าโรงเรียนจะรับครูไว้พักกักที่โรงเรียน ขอแค่หมอพยาบาลออกมาดูแล อย่างอื่นเ ช่นอาหาร ที่พัก ท างโรงเ รียนดูแลให้หมด เ มื่อแนวท างการดูแลชัด การท าสวอปก็เ ริ่มต้นไปเ มื่อวันอ าทิตย์ที่20มิถุนายน พบครูมีการติดเ ชื้อ33ค น ทุ ก ค น ไ ด้ น อ น กั ก ตั ว ที่ โ ร ง เ รี ย น นั บ ตั้ ง แ ต่ วั น ที่ ต ร ว จ พ บ เ ป็ น ต้ น ม า เ พื่ อ ไ ม่ ใ ห้ ก ลับ ไ ป ร ะ บ า ด ใ น ชุ ม ช น เ มื่ อ ค ร บ14วัน ทุ ก ค น จ ะ ไ ด้ ก ลับ บ้ า น “ ดังนั้นโมเดลโรงเรียนสอนศาสนาเอกชนที่มีบุคลากรจ านวนสามารถเป็นแบบอย่างในชุมชน อื่ น แ ล ะ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร อื่ น ๆ แ ต่ ชุ ม ช น นั้ น ผู้ น า โ ร ง เ รี ย น นั้ น หรือสถานประกอบการนั้นต้องเข้มแข็งพร้อมรับภาระหลังจากเปิดไปแล้ว โดย นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ กล่าวเพิ่มเติมว่า “โรงพยาบาลจะนะต้องขอชื่นชมทีมโรงเรียนรุ่งโรจน์

อ ย่ า ง ม า ก ที่ ช่ ว ย ป ร ะ ค อ ง ค ว า ม วิ ก ฤ ต เ ตี ย ง ล้ น

(5)

469

ด้ว ย ก า ร แ บ ก รับ ภ า ร ะใ นก าร ดูแล บุค ล า กร ข อ ง ต นเ อ ง ร่ว ม กับ ที ม โร ง พ ยาบาล นี่คือความรับผิดชอบทางสังคมที่น่าเคารพยิ่ง นี่คืออีกรูปแบบการสู้ภัยโควิด Organization Isolation Center (OIC) หรือศูนย์กักระดับองค์กร”

1.2 ศูนย์กักชุมชน CIC มัสยิดโคกเค็ต

โรงพยาบาลสนามชุมชนโคกเค็ต “ในแง่วิชาการ เรียกว่า “ศูนย์กักชุมชน หรือ CIC มาจากค าว่า Community Isolation Center”ตั้งอยู่ม.6 ต าบลบ้านนา

อันเนื่องมาจาก ประชาชน ม.4 และม.6 ต าบลบ้านนา มีประชาชนติดโควิด นับ ร้ อ ย ชี วิ ต ด ร . มัง โ ส ด ห ม ะ เ ต๊ ะ ใ น ฐ า น ะ ผู้ บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น สัน ติ วิ ท ย์

ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนศาสนา สามัญและอาชีพในพื้นที่เห็นความเดือดร้อนชาวบ้านไม่ไหว ป ร ะ ชุ ม ทุ ก ภ า ค ส่ว น ใ น ชุ ม ช น ข อ เ ปิ ด ศูน ย์ กัก ตัว (CIC ห รื อ Community isolated center)เ ช่ น กัน โ ด ย ท่ า น จ ะ ร ะ ด ม ทุ ก อ ย่ า ง บ ริ ก า ร ใ น ศู น ย์ นี้ เ พี ย ง ไ ม่ ถึ ง 1 วัน สามารถระดมทุนเป็นเงินกว่า 7 หมื่นบาทเพราะความเชื่อมั่นในภาวะผู้น าของท่าน

ท่าน กล่าวว่า “ขอขอบคุณพี่น้องโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามและทุกภาคส่วน ที่สามารถระดมทุน ซื้อเตียง กว่า100 ชุดให้ชาวบ้านโคกเค็ต จะนะ เพียงไม่ถึง 1 วัน เ ป็ น เ งิ น ก ว่ า 7 ห มื่ น บ า ท แ ล ะ ก ล่ า ว เ พิ่ ม เ ติ ม อี ก ว่ า

“ ผ ม ไ ม่ คิ ด ว่ า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง พี่ น้ อ ง จ ะ ม า ก ม า ย แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว ข น า ด นี้

ชี วิ ต ค น ต้ อ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ เ ส ม อ ผ ม เ อ ง ไ ม่ ไ ด้ มี ห น้ า ที่ อ ะ ไ ร แต่เห็นความติดขัดในการช่วยเหลือชีวิตมนุษย์แล้วมันคือหน้าที่ ที่ต้องช่วย กันท า ผมรู้สึกดีใจที่เห็นความร่วมมือของทุกท่าน ขอขอบคุณทุกท่านด้วยใจจริง ขอบคุณมากครับ”

นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ “ชื่นชมและขอบคุณกับท่านและทุกคนในทุกความร่วมมือ ที่ร่วมกันผ่าฟันอุปสรรค จนศูนย์กักชุมชน หรือ CIC ประจ ามัสยิดบ้านโคกเค็ตว่า

ความร่วมมือร่วมใจของชุมชนคือหัวใจในการสู้ภัยโควิด CICที่นี่ คือต้นแบบที่น่าสนใจยิ่ง หากไม่มี CIC ไม่มีความร่วมมือจากชุมชนท้องถิ่นท้องที่แล้ว โรงพยาบาลจะนะคงจะแย่

ผู้ป่วยย่อมตกค้างรอเตียงที่บ้าน รอหลายวันเข้าก็จ าต้องรับตัวมานอนโรงพยาบาล ท าให้เตียงโรงพยาบาลที่ควรสงวนไว้ส าหรับผู้ป่วยสีเหลืองที่มีอาการต้องการการดูแลทางกา รแพทย์ก็จะยิ่งมีไม่พอ พอมีผู้ป่วยที่อาการหนัก แต่เตียงไม่มีแล้ว วิกฤตจะยิ่งทวีคูณ โรงพยาบาลจะนะต้องขอชื่นชมและขอบคุณกับทุกความร่วมมือ ที่ร่วมกันผ่าฟันอุปสรรค จ น ศู น ย์ กัก ชุ ม ช น ห รื อ CIC ต า ดี ก า ป ร ะ จ า มัส ยิ ด แ ห่ ง นี้ เ ป็ น รู ป เ ป็ น ร่ า ง และเป็นส่วนส าคัญในการกอบกู้สู้ภัยโควิดของอ าเภอจะนะในวันนี้”

ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง ที่ นี่ ด า เ นิ น ก า ร จ น ก ร ะ ทั่ง ส า ม า ร ถ ปิ ด โรงพยาบาลสนามชุมชนที่นี่ วันที่30 กรกฎาคม 2564เพราะการแพร่ระบาดของพื้นที่หมู่

4,6,7 ต า บ ล บ้ า น น า ไ ด้ เ กื อ บ จ ะ ยุ ติ ล ง แ ล้ ว

จึงสามารถปิดโรงพยาบาลสนามได้หลังจากเปิดด าเนินการมา 6 สัปดาห์

โ ด ย วั น ดั ง ก ล่ า ว มี พิ ธี ปิ ด โ ร ง พ ย า บ า ล ส น า ม ชุ ม ช น โ ค ก เ ค็ ต ซึ่งชาวบ้านเรียกง่ายๆเพื่อความเข้าใจ “โรงพยาบาลสนามชุมชนโคกเค็ต “ในแง่วิชาการ เ รี ย ก ว่ า “ ศู น ย์ กัก ชุ ม ช น ห รื อ CIC ม า จ า ก ค า ว่ า Community Isolation Center”

เหลือคนไข้เพียงไม่กี่คนแล้ว ซึ่งส่งต่อไปโรงพยาบาลสนามโรงเรียนศาสนบ ารุง

จ ะ เ รี ย ก มั น ข่ า ว ดี ก็ ไ ด้

หมู่บ้านโคกเค็ตที่ใช้โรงเรียนตาดีกาของมัสยิดเป็นโรงพยาบาลสนามเพื่อรองรับผู้ป่วยโควิด ต อ น นี้ ไ ด้ ปิ ด ตั ว ล ง แ ล้ ว ( 30 ก ร ก ฎ า ค ม 2564 )เ พ ร า ะ ผู้ ป่ ว ย ที่ เ ป็ น ค น ใ น ห มู่ บ้ า น โ ค ก เ ค็ ต ไ ด้ ห ม ด ล ง แ ล้ ว อ ย า ก ใ ห้ จ า น ว น ผู้ ป่ ว ย ใ น โ ร ง พ ย า บ า ล ส น า ม อี ก ห ล า ย ๆ พื้ น ห ม ด ล ง บ้ า ง

(6)

470

อ ย่า ง น้ อ ย บุค ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ จ ะ ไ ด้เ ห นื่ อ ย น้ อ ย ล ง บ้า ง อีก น า น ไ ม่น า น พื้ น ที่ อื่ น ก็ ค ง ค ง ท ย อ ย ห ม ด ไ ป บ้ า ง ต อ น นี้ เ ป็ น ก า ลัง ใ จ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ บุ ค ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ทุ ก ค น ” วั น ดั ง ก ล่ า ว โ ร ง พ ย า บ า ล จ ะ น ะ ไ ด้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ว่ า

“สถานการณ์โรคโควิดในอ าเภอจะนะก าลังดีขึ้นช้าๆเตียงของโรงพยาบาลจะนะที่รับผู้ป่วยโ ควิดยังแน่นมาก เพราะยังมีผู้สูงอายุและผู้ที่ป่วยปานกลางต้องทานยาฟาวิพิราเวียร์

ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะรับไว้นอนที่โรงพยาบาล เพื่อความปลอดภัย สูงสุดในการดูแลผู้ป่วย ส่วนเตียงของโรงพยาบาลสนามนั้นเริ่มโล่งแล้ว”

นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจกรุณาสะท้อนว่า “การระบาดของโควิดในอ าเภอจะนะนั้นหนักมาก พบผู้ติดเชื้อกระจายในทุกต าบล ในหลายคลัสเตอร์ที่ปะเดปะดังเข้ามา ในแต่ละวันมีการท า swab หาผู้ติดเชื้อกว่า 250-400 รายต่อวัน และเมื่อผลบวกออกมา ว่ามีผู้ติดเชื้อวันละ20-40 คน ค าถามที่น่าหนักใจที่สุดคือ จะให้ผู้ติดเชื้อโควิดเหล่านี้ นอนกักรักษาตัว 14 วันที่ไหน เพราะโรงพยาบาลจะนะนั้นเตียงเต็มหมดแล้ว

คลัสเตอร์ใหญ่ที่สุดในอ าเภอจะนะในวันที่25 มิถุนายน 2564 คือ คลัสเตอร์หมู่6ท่าชะมวง (บ้านโคกเค็ต )ต าบลบ้านนา คลัสเตอร์นี้พบว่า หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 4 ที่อยู่ติดกัน พบผู้ติดเชื้อแล้วร่วม 100 ราย และเมื่อโรงยาบาลจะนะที่มีเตียงรับผู้ป่วยโควิดแล้วถึง 76 เตียงซึ่งต้องรับผู้ป่วยในคลัสเตอร์อื่นๆด้วย แล้วคนหมู่ 6 หมู่ 4 จะนอนไหน ค าตอบชัดเจนว่า ค น ใ น ชุ ม ช น ต้ อ ง ช่ ว ย กั น ห า ที่ น อ น กั ก รั ก ษ า ใ น ชุ ม ช น และแล้วอาคารเ รียนโรงเ รียนตาดีกาในพื้นที่ของมัสยิดหมู่ที่6 (บ้านโคกเ ค็ต ) ก็ได้เปลี่ยนสภาพมาเป็นศูนย์กักชุมชนที่นี่ชั้นบนมี 8 ห้อง สามารถวางเบาะนอนได้ห้องละ 10 เบาะ ก็รวม 80 เตียง ทางโรงพยาบาลจะนะได้รับความร่วมมือจากชุมชน ฝ่ายปกครอง ท้องถิ่นท้องที่มาร่วมกันท าความสะอาด ปรับแต่งอาคาร รวมทั้งจัดก าลังเวรยามมาดูแล ในส่วนของโรงพยาบาลก็ได้เข้ามาดูแลทางการแพทย์ มีการก าหนดผู้ป่วยให้เป็น อสม.โควิด ค อ ย วัด ค ว า ม ดัน วัด ไ ข้ วัด ร ะ ดับ อ อ ก ซิ เ จ น ใ น เ ลื อ ด ใ ห้ พ ย า บ า ล ทุ ก วัน ใครปวยมากขึ้นจะได้รับการตรวจและส่งไปนอนที่โรงพยาบาลจะนะต่อไป”ความร่วมมือร่ว ม ใ จ ข อ ง ชุ ม ช น คื อ หั ว ใ จ ใ น ก า ร สู้ ภั ย โ ค วิ ด ด ร . มั ง โ ส ด ห ม ะ เ ต๊ ะ ส ะ ท้ อ น ว่ า

“ท่านเป็นผู้บริหารโรงเรียนสันติวิทย์ก็เสมือนผู้น าชุมชนที่นี่แม้ไม่ใช่ก านัน หรือผู้ใหญ่บ้าน ท่ า น ไ ด้ ร ะ ด ม ทุ น ข อ รั บ บ ริ จ า ค เ บ า ะ แ ล ะ ห ม อ น จ น ไ ด้ ม า ต ร อี ก 130 ชุดในเวลาอันรวดเร็วภายในวันเดียวเพื่อรองรับผู้ป่วยที่จะท าเป็นโรงพยาบาลสนามชุมชนที่

นี่ และร่วมดูแลร่วมกับทุกภาคส่วนในชุมชนไม่ว่า อาหาร ยา ความปลอดภัย ถุงยังชีพ และอื่นๆที่จ าเป็นตลอด เดือนกว่าๆจนปิดโรงพยาบาลสนาม 30 กรกฎาคม 2564 น า ย แ พ ท ย์ สุ ภั ท ร ฮ า สุ ว ร ร ณ กิ จ ก รุ ณ า ส ะ ท้ อ น อี ก ว่ า

ความร่วม มือ ร่ว มใ จข อ งชุ ม ชน คือหัว ใ จในก าร สู้ภัย โค วิด CICบ้านท่าช ะ ม ว ง ( โ ค ก เ ค็ ต ) คื อ ต้ น แ บ บ ที่ น่ า ส น ใ จ ยิ่ ง ห า ก ไ ม่ มี CIC ไ ม่ มี ค ว า ม ร่ ว ม มื อ จ า ก ชุ ม ช น ท้ อ ง ถิ่ น ท้ อ ง ที่แ ล้ ว โ ร ง พ ย า บ า ล จ ะ น ะ ค ง จ ะ แ ย่

ผู้ป่วยย่อมตกค้างรอเตียงที่บ้าน รอหลายวันเข้าก็จ าต้องรับตัวมานอนโรงพยาบาล ท าให้เตียงโรงพยาบาลที่ควรสงวนไว้ส าหรับผู้ป่วยสีเหลืองที่มีอาการต้องการการดูแลทางกา ร แ พ ท ย์ ก็ จ ะ ยิ่ ง มี ไ ม่ พ อ พ อ มี ผู้ ป่ ว ย ที่ อ า ก า ร ห นั ก แ ต่ เ ตี ย ง ไ ม่ มี แ ล้ ว วิกฤตจะยิ่งทวีคูณโรงพยาบาลจะนะต้องขอชื่นชมและขอบคุณ กับทุกความร่วมมือ ที่ร่วมกันผ่าฟันอุปสรรค จนศูนย์กักชุมชน หรือ CIC ตาดีกาบ้านท่าชะมวงแห่งนี้

เป็นรูปเป็นร่าง และเป็นส่วนส าคัญในการกอบกู้สู้ภัยโควิดของอ าเภอจะนะในวันนี้ “ ความเป็นจริงทุนทางสังคมอันเป็นทุนเดิมของหมอสุภัทรกับ ดร.มังโสด หมะเต๊ะ และชุมชนก่อนหน้านี้มาหลายปีก็มีความส าคัญมิใช่น้อยในภารกิจพิชิตโควิดในครั้งนี้

นี่ คื อ บ ท เ รี ย น ที่

(7)

471

“ชุมชนดูแลตนเองภายใต้บัญชาการหมอกับผู้น าชุมชนด้วยจิตวิญญาณและทุกภาคส่วนหนุน เสริม”

1.3 โรงพยาบาลสนามโรงเรียนศาสนบ ารุง

28 มิ ถุ น า ย น 2564 โ ร ง พ ย า ล จ ะ น ะ ไ ด้

มีพิธีเปิดโรงพยาบาลสนามแห่งที่สองที่โรงเรียนศาสนบ ารุง หมู่ที่2 ต าบลบ้านนา ซึ่งโรงเรียนนี้ เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาที่อาสาเสนอตัว เปิดเป็นโรงพยาบาลสนาม

( เ ฉ พ า ะ ส ต รี แ ล ะ เ ด็ ก )

อันเ นื่องมาจากสถ านการณ์ผู้ติดโควิดของอ าเภอจะนะนับวันมีจ านวนเพิ่มขึ้น แ ม้ ก่ อ น ห น้ า นี้ จ ะ มี ก า ร เ ปิ ด โ ร ง พ ย า บ า ล ส น า ม 1 แ ห่ ง ที่ โ ร ง เ รี ย น จ ะ น ะ วิ ท ย า อั น เ ป็ น โ ร ง เ รี ย น ข อ ง รั ฐ แ ล ะ มี ก า ร เ ปิ ด ศู น ย์ กั ก ตั ว ชุ ม ช น แ ล ะ อ ง ค์ ก ร แ ล้ ว ส อ ง แ ห่ ง นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ได้กล่าวถึงสาเหตุที่ต้องเปิดโรงพยาบาลสนาม

“ ผู้ ติ ด เ ชื้ อ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ร ว ด เ ร็ ว นั้น ม า จ า ก 3 ก ลุ่ ม ผู้ ป่ ว ย ไ ด้ แ ก่ ก ลุ่ ม ส ะ เ ก็ ด ไ ฟ จากในอ าเภอหาดใหญ่และอ าเภอเมือง กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมและกลุ่มมัรกัซยะลา ซึ่ ง ใ น ข ณ ะ นี้ ถื อ ว่ า เ ป็ น ก า ร ร ะ บ า ด ใ น ก ลุ่ ม ชุ ม ช น ท า ใ ห้ต้อ ง เ ร่ง ท า ก า ร ส อ บ ส ว น โ ร ค แ ล ะ น า เ ข้า สู่ก ร ะ บ ว น ก า ร ต ร ว จ เ ชื้ อ เ ชิ ง รุ ก และน าตัวเข้ารับการรักษาให้ได้โดยเร็ว โดยประเมินว่า จะใช้เวลาประมาณ 1 เดือน ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม โ ร ค ใ ห้ เ ห ลื อ ผู้ป่ ว ย ติด เ ชื้ อ ร า ย วัน ใ ห้ เ ห ลื อ ไ ม่ถึง 10 ค น ต่อ วัน ตอนนี้โรงพยาบาลเต็มแล้ว มีเตียงไม่เตียงไม่พอ จ าเป็นต้องเปิดโรงพยาบาลสนามแห่งที่สอง ต้องขอบคุณโรงเ รียนศาสนบ ารุง ที่ให้ความร่วมมือช่วยเ หลือในครั้งนี้มากๆ ” บาบอฮุสณี บินหะยีคอเนาะโต๊ะครูโรงเรียน กล่าวว่าคณะผู้บริหารโรงเรียนศาสนบ ารุง

ข อ ข อ บ ข อ บ คุ ณ ที ม ง า น

หมอสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ผู้นวยการโรงพยาบาลจะนะ บุคลากรโรงพยาบาล และ ที ม ง า น อ ส ม . ท่ า น น า ย ก ส ภ า ก า ช า ด จั ง ห วั ด ข ล า ท่ า น ป ร ะ ธ า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร อิ ส ล า ม ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด ส ง ข ล า แ ล ะ ค ณ ะ รองนายกอบ จ. ส งข ล าด ร. อับดุล ร อหม าน กาเ หย็ม นางสาวปริน ดา ปาลา เ ร่

เลขานายกอบจ.สงขลา คุณอิสมาแอล หมัดอาดัมพร้อมทีมงานมูลนิธิคนช่วยคน ผู้ก ากับสภ.จะนะ ผู้อ านวยการสนง.การศึกษาเอกชนอ าเภอจะนะ นายกเทศบาลต าบลจะนะ นายกเทศบาลต าบลบ้านนา กลุ่มออมทรัพย์พัฒนาบ้านพ้อแดง ดร.ขดดะรี บินเซ็น น า ย ก ส ม า ค ม ส ม า พั น ธ์ โ ร ง เ รี ย น เ อ ก ช น ภ า ค ใ ต้

ด ร . มั ง โ ส ด ห ม ะ เ ต๊ ะ ที่ ป รึ ก ษ า ส ม า ค ม โ ร ง เ รี ย น เ อ ก ช น จ . ส ง ข ล า แ ล ะ ช า ว บ้ า น ต า บ ล บ้ า น น า แ ล ะ ห มู่ บ้ า น ไ ก ล้ เ คี ย ง ที่ร่วมมาให้ก าลังใจพิธีเปิดโรงพยาบาลสนามโรงเรียนศาสนบ ารุง”บอบอฮุสณีกล่าวเพิ่มเติม

อี ก ว่ า “

เมื่อพี่น้องประสบความเดือนเรามีโอกาสเราก็ต้องช่วยเหลือกันและขอบคุณทุกภาคส่วนร่วม ทั้งพี่น้องพุทธที่ให้การสนับสนุนด้วย”นอกจากนี้โรงพยาบาลจะนะได้เปิดโรงพยาบาลสนาม แ ล้ ว 1 แ ห่ ง แ ต่ ไ ม่ เ พี ย ง พ อ บ า บ อ ฮุ ส ณี บิ น ห ะ ยี ค อ เ น า ะ เ ป็ น ทั้ ง ผู้ รู้ ศ า ส น า แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น ศ า ส น บ า รุ ง (โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา)จึงยื่นความจ านงอาสาช่วยโรงพยาบาลแต่ด้วยโรงเรียนนี้อยู่ใน ชุมชนตลาดจะนะจึงท าให้บางส่วนออกมาคัดค้านอย่างไรก็แล้วแต่ด้วยความเป็นผู้น าทางกา รแพทย์ของนายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ และผู้น าศาสนาของบาบอฮุสนี บินหะยีคอเนาะ สามารถสร้างความเข้าใจต่อคนพุทธที่อยู่รอบโรงเรียนและได้รับการสรรเสริญจากโลกโซเชี่

ย ล เ กิ น ข า ด โ ด ย บ า บ อ ฮุ ส ณี บิ น ห ะ ยี ค อ เ น า ะ ก ล่ า ว ว่ า

“ขอชื่นชมและขอบคุณอย่างสูงพี่น้องพุทธที่ออกมาสนับสนุนให้โรงเรียนศาสนบ ารุงตั้งโรงพ ยาบาลสนาม ในครั้งนี้ ครับเราในนามมุสลิม ขอบใจ พี่น้องพุทธเป็นอย่างมาก ที่ช่วยออกมาส่งเสียง “จะนะเราต้องรอดด้วยความร่วมมือชุมชนพุทธ-มุสลิม”

(8)

472

เครือข่าย COVID SONGKHLA WATCH สะท้อนว่า “นี่คือบทเรียนของการร่วมเรียนรู้

นี่ คื อ รู ป ธ ร ร ม ก า ร สู้ กั บ โ ค วิ ด ด้ ว ย วิ ธี จั ด ก า ร ตั ว เ อ ง ข อ ง ชุ ม ช น มีทั้งท าอาหารให้ผู้กักตัวด้วยชุมชนเองทั้งการปรับเปลี่ยนโรงเรียนสอนศาสนาเป็นโรงพยาบ

า ล ส น า ม ไ ด้ ส รุ ป ต ร ง กั น ว่ า

“เป็นการทลายCOVIDด้วยภาคประชาชนที่น าโดยหมอและผู้น าศาสนาอันเป็นทุนทางสังคม ที่ส าคัญมากเวลาเจอวิกฤตที่ต้องการหาทางออก”

ตั ว แ ท น ส ต รี ส ะ ท้ อ น ว่ า “ บ า บ อ ฮุ ส ณี บิ น ห ะ ยี ค อ เ น า ะ ไม่เพียงแต่ตัดสินใจให้ใช้รร.เอกชนสอนศาสนาอิสลามของเขา รร.ศาสนบ ารุง อ.จะนะ จ.สงขลา เป็นรพ.สนาม ส าหรับผู้ป่วยโควิด ที่เป็นผู้หญิงและเด็ก ทุกศาสนา

แ ต่ เ ข า ยั ง อ า ส า รั บ ห น้ า ที่ เ ป็ น พ่ อ บ้ า น ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย ป ร ะ ห นึ่ ง ญ า ติ

โ ด ย มี ห ลัก ป ฎิบัติที่เ ข า ยึด ถื อ ที่บ อ ก กับ เ ร า ว่ า เ ข า จ ะ ไ ม่ดู ห รื อ จ ด จ า ชื่อ ผู้ ป่ ว ย เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ที่ เ ท่ า เ ที ย ม กั น และที่ส าคัญไม่ให้ต้องรู้สึกถึงการเป็นหนี้บุญคุณระหว่างกัน

ผ ม ทิ้ ง ไ ม่ ไ ด้ ใ ห้ ส ถ า น ที่ เ ป็ น ร พ . ส น า ม แ ล้ ว ผมก็ยังอาสามาช่วยดูแลอาหารการกินให้กับผู้ป่วย รวมทั้งข้าวของเครื่องใช้ที่จ าเป็น แ ล ะ เ ป็ น แ ก น ก ล า ง ร ะ ด ม ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ จ า ก ภ า ค ส่ ว น ต่ า ง ๆ ต้อนรับแขกที่น าข้าวของมาบริจาค นี่ก็เป็นหน้าที่ของผม ” บาบอฮุสณีบอกกับเรา ระหว่างนั้น ก็ขอปลีกตัวจากการคุยกับเราเป็นช่วงๆ เมื่อมีผู้มาส่งของบริจาค

ผ้าอนามัยส าหรับผู้หญิง เมื่อก่อนนี่ ผมไม่เคยจับต้อง เป็นครั้งแรก ที่มาจับต้อง เพราะเป็นของใช้จ าเป็นส าหรับสตรี เราน างบที่ได้รับบริจาค มาซื้อของท าเป็นกิฟเซ็ท เอาของใช้ที่ผู้หญิงต้องการ เช่นแป้ง สบู่ หวี ยาสระผม แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ช้อน ผ้าอามัย จัดเป็นเซ็ท ใส่กล่องให้ผู้ป่วยแต่ละคน”

รพ.ของรัฐล้น และเสี่ยงเกินไป ที่จะให้ผู้ป่วยกักตัวอยู่ที่บ้าน รพ.สนามของภาคเอกชน อย่างโรงเรียนผม จึงจ าเป็นต้องสนับสนุน เราพยายามที่จะให้ชุมชนจัดการตนเอง และช่วยเหลือกันเอง ภาครัฐ สนับสนุนส่วนที่ขาด”

บาบอบอกว่า การท างานครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนจากมามา (ภรร ยาบาบอ) ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ชุ ม ช น ทั้ ง พุ ท ธ แ ล ะ มุ ส ลิ ม ต อ น แ ร ก ๆ มี บ้ า ง ที่ ค น ใ น ชุ ม ช น ก ลั ว จ ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง แ พ ร่ เ ชื้ อ แ ต่ เ มื่ อ ไ ด้ รับ ค า อ ธิ บ า ย ต า ม ห ลัก ก า ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์

ร ว ม ทั้ง ไ ด้เ ห็ น ใ น เ ชิง ป ร ะ จัก ษ์ ใ น ร ะ บ บ ก า ร บ ริห า ร จัด ก า ร ที่ดี ข อ ง ร พ . ส น า ม ก็ไม่ได้รู้สึกกลัวอะไรอีก กลับสนับสนุนด้วยซ ้าไป

แต่ผมก็ต้องตัดขาดจากครอบครัว มามา และลูกๆ 5 คน ของผม คนเล็กอายุ 5 ขวบ เคยกอดกันเป็นประจ า ตอนนี้ผมกอดเขาไม่ได้ เพราะผมคิดเสมอ ว่าตัวผมมีความเสี่ยง เลยจะไม่สัมผัสคนในครอบครัว แม้ผมจะกลับไปนอนที่บ้าน แต่เป็นห้องแยกออกมา เราจะไม่สัมผัสกัน เห็นกันทางกระจก”

มีวันหนึ่งผมน าละหมาด ละหมาดเสร็จ ลูกผมร้องไห้ ภรรยาผมก็ร้องไห้ ผมเองก็น ้าตาไหล”

ผมไม่ชวนคนในครอบครัว หรือครูในรร.มาอยู่ในรพ.สนาม เพราะมีความเสี่ยง มี ตั ว ผ ม ค น เ ดี ย ว แ ล ะ ที ม บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ อ ส ม . และบางวันก็มีเยาวชนอาสาสมัครมาร่วมด้วย”

ถามว่ากลัวไหม กลัว แต่ต้องกลัวอย่างมีสติ เพราะความกลัวว่าโรคระบาดจะรุนแรง และแพร่ไปทั่ว ผมจึงต้องช่วยเ รื่อง โร งพย าบา ล สนา ม การมีผู้ป่วยอยู่ในที่กัก เขาท าให้เรารู้ว่า เชื้อโรคอยู่ที่ไหน เราจึงควบคุมได้ ต้องขอบคุณคนที่มากักตัว”

(9)

473

รพ.สนามที่นี่ ส าหรับทุกคนที่เป็นผู้หญิง เด็ก ไม่ว่าจะมุสลิม พุทธ หรือไม่มีศาสนา เ ราถือว่าทุกคนเ ป็นเ พื่อนมนุษย์ และก าลังทุกข์ยากล าบาก ศาสนาอิสลามเ อง ก็เป็นศาสนาแห่งความเมตตาปราณีส าหรับมนุษยชาติ” บาบอกล่าวปิดท้าย

เครือข่ายโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสามอ าเภอจะนะ สะท้อนว่า ทั้งสามโมเดล ของโรงพยาบาลสนามนั้นเกิดจากสามปัจจัยหลักทุนทางสังคม โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่มีผู้น าการศึกษาศาสนาอิสลามและความสัมพันธ์อันแน่

นแฟ้นระหว่างนายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรรณกิจและผู้น าการศึกษาที่ชาวบ้านเรียกว่า บาบอ โต๊ะครูเปียบเสมือนหมอศาสนา กล่าวคือ

“ทุนทางสังคมแรกคือพลังชาวบ้านที่รวมกันเข้มแข็งมาตั้งแต่ 20 ปีก่อน เพราะต้องต่อสู้เพื่อชุมชนกันมาหลายครั้งหลายหน

ตั้งแต่การรวมกลุ่มคัดค้านการก่อสร้างท่อก๊าซ ตามมาด้วยพลังคัดค้านการสร้างโรงไฟฟ้าจะนะ

และปัจจุบันก็ยังเกาะกลุ่มกันต่อต้านโครงการนิคมอุตสาหกรรม

ล้วนมีส่วนสร้างพลังแห่งความร่วมมือให้เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญกับภัยเดือดร้อน เสมือนว่าเป็นเมืองที่สร้างเม็ดเลือดขาวขึ้นมาดักจับและต่อสู้กับสิ่งแปลกปลอม

ในวิกฤติโควิดจึงเห็นการช่วยกันคนละไม้คนละมือของชาวจะนะโดยไม่ต้องบังคับฝืนใจให้

ท า ทุนทางสังคมประการที่สองคือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา

เนื่องด้วยจะนะนั้นแต่เดิมเป็นเมืองแห่งการศึกษาทางศาสนามาก่อนซึ่งมรดกดังกล่าวตกทอ ดมาถึงปัจจุบันดั่งหนังสือจะนะเมืองอุลามาอ์ได้เขียนไว้และคนทั้งจะนะรวมทั้งชายแดนใต้ก็

ยอมรับ ดังนั้นในนามของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา

สมาคมโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดสงขลาซึ่งมีโรงเรียนเครือข่ายที่สังกัดร่วมถึ

85 โรงเรียน เฉพาะในอ าเภอจะนะมีมากถึง 25

โรงเรียน ซึ่งโรงเรียนเหล่านี้ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในชุมชน ผูกพันกับชาวบ้าน เป็นทั้งที่พึ่งทางความรู้ จิตวิญญาณ และศูนย์กลางของความร่วมมือต่าง ๆ

ในภาวะโควิดจึงเห็นว่าโรงเรียนเอกชนศาสนาท าหน้าที่เป็นพื้นที่กลางให้ชาวบ้านได้พึ่งพิงไ ด้เป็นอย่างดี

ทุนทางสังคมอีกประการซึ่งส าคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันคือความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่

างหมอศาสนาหรือบาบอ โต๊ะครู กับหมอรักษาร่างกาย หรือบุคลากรทางการแพทย์

เพราะที่ผ่านมาทั้งสองฝ่ายต่างท างานช่วยเหลือกันมาโดยตลอด

เมื่อเจอภาวะวิกฤติแม้ต่างฝ่ายต่างสะดุดล้มแต่ก็ลุกขึ้นจับมือและพาชุมชนให้รอดไปด้วยกัน ได้

2.น โ ย บ า ย ส า ธ า ร ณ ะ แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จัด ตั้ง โ ร ง พ ย า บ า ล ส า ม โมเดลที่บริหารโดยชุมชนเพื่อชุมชน

เ ค รื อ ข่ า ย อ ง ค์ ก ร ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ภ า ค ใ ต้ เ ส น อ รัฐ เ พิ่ ม 7 ม า ต ร ก า ร

“ สู้ ภั ย โ ค วิ ด ” คื อ ป้ อ ง กั น แ ล ะ บ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภั ย ฯ เ งิ น กู้

สนับสนุนกลไกที่สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ผ่อนผันการบังคับใช้กฎหมาย

ส า ธ า ร ณ สุ ข

ส่งเสริมการใช้สมุนไพรและลดความเลื่อมล ้าด้านการศึกษากล่าวคือเครือข่ายองค์กรภาคปร ะ ช า ช น ภ า ค ใ ต้ มี ค ว า ม เ ห็ น เ บื้ อ ง ต้ น ว่ า ทางออกส าคัญที่จะน าไปสู่การแก้ไขปัญหาวิกฤติโควิดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

(10)

474

คือการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและท้องถิ่นและคลี่คลายกฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อสถานก

า ร ณ์

ด้วยการกระจายอ านาจการบริหารจัดการและการปรับแก้ระเบียบบางอย่างเพื่อให้ชุมชนท้อ

ง ถิ่ น ( ต า บ ล อ า เ ภ อ

จังหวัด)ได้มีส่วนร่วมส าคัญในการเข้าไปจัดการหรือออกแบบแก้ไขกับปัญหาการแพร่ระบา ดของโรคโควิด – 19 ในมิติต่างๆได้เอง ดังนั้นเครือข่ายองค์กรภาคประชาชนภาคใต้

มีข้อเสนอเชิงนโยบายต่อรัฐบาล เพื่อน าไปสู่การแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โ ด ย แ บ่ ง ก า ร เ ป็ น 4 ร ะ ดั บ คื อ

1. ร ะ ดับ ค รัว เ รื อ น ส่ง เ ส ริม ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น มี ค ว า ม พ ร้อ ม รับ มื อ ไ ด้เ อ ง เ บื้ อ ง ต้ น ใ น เ รื่อ ง ก า ร ด า ร ง ชี วิต อ า ห า ร ก า ร กิน ก า ร ต ร ว จ เ ชื้ อ แ ล ะ ก า ร รัก ษ า พ ย า บ า ล ทั้ ง ย า ห ลั ก แ ล ะ ส มุ น ไ พ ร ร ว ม ถึ ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง บุ ต ร ห ล า น 2. ร ะ ดั บ ชุ ม ช น ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ชุ ม ช น จั ด ท า แ ผ น ก า ร รั บ มื อ โ ค วิ ด จัดให้มีอาสาสมัครชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ เช่นการเฝ้าระวัง และการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฯ จัดให้มีศูนย์พักคอยและคลังอาหารชุมชน ทั้ ง นี้ อ า ส า ส มั ค ร ค ว ร จั ด ใ ห้ มี ค่ า ต อ บ แ ท น ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม 3. ระดับต าบล จัดให้มีแผนการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดฯในพื้นที่ต าบล โ ด ย ใ ห้ อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก แ ล ะ ร่ ว ม มื อ กั บ โ ร ง พ ย า บ า ล สุ ข ภ า พ ป ร ะ จ า ต า บ ล ( ร พ . ส ต . ) ท้ อ ง ที่

อ า ส า ส มั ค ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ( อ ส ม . ) แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ชุ ม ช น ทั้ ง นี้ ต้ อ ง จั ด ใ ห้ มี โ ร ง พ ย า บ า ล ส น า ม ร ะ ดั บ ต า บ ล และแผนการช่วยเหลือเยียวยาประชาชนทั้งด้านการส่งเสริมอาชีพ การสร้างรายได้

รวมถึงการศึกษาของเด็กในพื้นที่

4. ระดับจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดประประกาศพื้นที่ภัยพิบัติระดับจังหวัด เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ช่ อ ง ท า ง ข อ ง พ ร บ . ป้ อ ง กัน แ ล ะ บ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภัย ฯ เข้ามาสนับสนุนให้องค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นได้มีช่องทางในการเข้ามาช่วยเหลือแก้ไขปัญห า ใ น มิ ติ ต่ า ง ๆ ไ ด้ อี ก ท า ง ห นึ่ ง ทั้ ง เ รื่ อ ง ก า ร จั ด ท า แ ผ น ก า ร เ ฝ้ า ร ะ วั ง แ ผ น ก า ร ส นั บ ส นุ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง โ ร ง พ ย า บ า ล ท้ อ ง ถิ่ น เ ป็ น ห ลัก เพื่อโรงพยาบาลหลักจะสามารถดูแลประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น

ทั้งนี้ในการบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความเป็นธรรมให้ประชาชนในการเข้าถึงสิทธิในการรับบริการจากรัฐ และการเข้าถึงการช่วยเหลืออย่างเยียวยา จึงมีข้อเสนอแนวทางการปฏิบัติดังนี้

1. ข้อเสนอเพื่อบรรลุเป้าหมายการเพิ่มกลไกการบริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด – 19

รัฐ บ า ล ค ว ร ป ร ะ ก า ศ ใ ห้โ ร ค ร ะ บ า ด โ ค วิด – 19 เ ป็ น โ ร ค ร ะ บ า ด ใ น ม นุ ษ ย์ ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป้ อ ง กั น แ ล ะ บ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภั ย พ . ศ . 2550 และให้ทุกจังหวัดเร่งประกาศเขตภัยพิบัติ ตาม พ.ร.บ.ป้องกันฯ พ.ศ.2550 ด้วย และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันโรคระดับท้องถิ่น

Referensi

Dokumen terkait

Sebagaimana telah disampaikan sebelumnya dalam iulisan ini, bahwa pembaharuan substantif hukum pidana perlu dilakukan mengingat adanya kelemahan kebijakan formulasi perlindungan

yang lain, seperti produk bangunan yang diobati dengan asam borat, paving berpori yang menyerap air hujan ke dalam tanah dengan volume air lebih besar dari pada

Perbandingan Tingkat Disiplin Antara Atlet Karate Dan Atlet Sepakbola Pada Pembelajaran Penjas Di Smp Negeri 1 Banjaran Kabupaten Bandung.. Universitas Pendidikan Indonesia |

Pelayanan kesehatan gigi dan mulut memelihara dan meningkatkan derajat kesehatan masyarakat dalam bentuk peningkatan kesehatan gigi, pencegahan penyakit gigi,

Beberapa faktor – faktor risiko tersebut antara lain Orang IT tidak sepenuhnya dilibatkan dalam penentuan target bisnis, mengakibatkan Divisi IT tidak dapat memberikan

Sejak tanggal 27 Agustus tahun 2010 penulis terdaftar sebagai mahasiswa Program Studi S2 IKM di FKM USU dan pada hari rabu tanggal 2 Mei 2012 penulis mengikuti ujian proposal di

Kementerian Pendidikan Nasional (Kemdiknas) merupakan satu dari 12 instansi pemerintah yang diprogramkan untuk merintis dan melaksanakan reformasi birokrasi dalam

Jumlah dari banyaknya titik dan banyaknya sisi memuat sebuah selimut