• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะหขอมูล

1. การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร

2. การทองเที่ยวชมงานวิถีชีวิตชุมชน 3. การทองเที่ยวชมวัฒนธรรมและประเพณี

4. การทองเที่ยวภูมิปญญา และของพื้นถิ่น

ผลการวิจัยจะนํามาใชเปนเปนแนวทางในการออกแบบคูมือการทองเที่ยว และ เสนทาง การทองเที่ยวภายในชุมชนบางนกแขวก

ตารางที่ 4.1 รูปแบบการทองเที่ยวในชุมชนบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงคราม เสนทาง ประเภทการทองเที่ยวใน

ชุมชนบางนกแขวก

สถานที่ทองเที่ยว 1 การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร 1.1 วัดโพธิ์งาม โบสถปรกโพธ unseen Thailand

1.2 วัดเจริญสุขาราม หลวงพอโต

1.3 อนุสรณสถานลูกระเบิด ประตูน้ําบางนกแขวก 1.4 คายบางกุง อยูบริเวณเดียวกับโบสถปรกโพธ ที่ตั้งคาย สมเด็จพระเจาตากสิน

1.5 อาสนพระแมบังเกิด โบสถคริส สถาปตยกรรมแบบโกธิค 1.6 ศาลเจาพอปู อยูกอนทางเขาตลาดบางนกแขวก

2 การทองเที่ยวชมวิถีชีวิตชุมชน 2.1 เรียนรูความพอเพียง ณ ศูนยการเรียนรูการเกษตรบานบาง พลับ

2.2 ลองเรือชมสวน ชมวิถีชีวิตริมฝงคอง ชมตนไมในวรรณคดี

ตนมะมวงหาวมะนาวโห

2.3 ตกกุงกลางแมน้ําแมกลอง

2.4 ลงเลนน้ําคลอง บริเวณตลาดบางนกแขวก

2.5 ตรอกโรงฝน เปนโรงฝนเกา บริเวณทางเขาตลาดบางนก แขวก

3 การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประเพณี และของพื้นถิ่น

3.1 ตักบารตขนมครก

3.2 ลอยกระทงกะลา กาบกลวย 3.3 เทศกาลลิ้นจี่

3.4 ไหวศาลเจาพอ ตรุษจีน 4 การทองเที่ยวภูมิปญญาและของ

พื้นถิ่น

4.1 บริเวณตลาดบางนกแขวก 4.2 บริเวณริมน้ําวัดเจริญสุขาราม

4.2 ผลการ วิเคราะหสวนประกอบของคูมือการทองเที่ยว

จากการหาขอมูลและเปรียบเทียบสวนประกอบของ คูมือนําเที่ยวที่มีอยูในปจจุบัน ได

คัดเลือกมาพิจารณา จํานวน 10 เลม แสดงดังตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 สวนประกอบในคูมือนําเที่ยว

สรุปผลการวิเคราะห

จากตารางผลการวิเคราะหสวนประกอบในหนังสือ คูมือการทองเที่ยว โดยใชเกณฑการ ตัดสินจากคะแนน ที่เกิน 50 % หรือมากกวา 5 คะแนน ผลปรากฏวา สวนประกอบของหนังสือนํา เที่ยวที่สําคัญ มีอยู 6 อยาง ไดแก ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ / แผนที่ / การเดินทาง / ภาพประกอบ / จุดเดนหรือการแนะนําสิ่งสําคัญของสถานที่ / งบประมาณ,คาใชจาย

4.3 ผลการวิเคราะหรูปทรงและขนาดของคูมือนําเที่ยว

สวนประกอบในหนังสือนําเที่ยว ซึ่งเปนขนาดหนังสือนําเที่ยวที่นํามาวิเคราะหเพื่อเปน ขอมูลในการออกแบบ ในสวนของรูปทรงหนังสือนําเที่ยวที่นํามาศึกษาทั้งหมด เปนรูปทรง

สี่เหลี่ยมผืนผา การใชรูปทรงมาตรฐาน ( สี่เหลี่ยมผืนผา ตามรูปทรงของกระดาษ A4) ทําให

ประหยัดตนทุนในการผลิต ในสวนของขนาดหนังสือนําเที่ยว ผูวิจัยไดนํามาทําเปนตาราง วิเคราะหเปรียบเทียบโดยอางอิงหนังสือจากตารางที่ 4.2 สวนประกอบในหนังสือนําเที่ยว ดังนี้

ตารางที่ 4.3 ขนาดของหนังสือนําเที่ยว เลมที่

ขนาดของหนังสือนําเที่ยว ขนาด

4”x6” ขนาด

4.5”x7” ขนาด

5”x7” ขนาด

5”x8” ขนาด

6”x8”

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

X X O X X X X X X X

X X X X X X O X X X

O O X X X X X O O X

X X X O O O X X X X

X X X X X X X X X O

รวม 1 1 4 3 1

สรุปผลการวิเคราะห

จากตารางผลการวิเคราะหขนาดของ คูมือการทองเที่ยว จากตัวอยาง 10 เลม ขนาดของ หนังสือนําเที่ยว มีขนาด 4 ”x6” / 4.5”x7” / 5”x7” / 5”x8” / 6”x8” จึงนําขนาดเหลานี้ไปทํา แบบสอบถามเพื่อถามความตองการในเรื่องขนาดของหนังสือนําเที่ยวที่กลุมเปาหมายตองการ จากตารางขนาดที่มีมากที่สุดจากหนังสือนําเที่ยวที่นํามาวิเคราะหคือ ขนาด 5”x7”

4.4 ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม

สวนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมของผูตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 4.4 เพศ 1. เพศ

ลําดับ รายการ Total Percent

(Total) Rank (Total) 1 เพศ

- ชาย

- หญิง 45

55

45 55

2 1

ตารางที่ 4.5 อายุ