• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

5. สอดคลองกับการผลิต

2.11.4 สวนประกอบขององคประกอบศิลป

สวนประกอบขององค ประกอบศิลป ซึ่งจะทําใหเราสรางสรรคผลงานทุกรูปแบบได

นาสนใจ มีความสวยงาม มีดังนี้

1. จุด ( Point, Dot ) คือ สวนประกอบที่เล็กที่สุด เปนสวนเริ่มตนไปสูสวนอื่นๆ เชน การ นําจุดมาเรียงตอกันตามตําแหนงที่เหมาะสม และซ้ําๆ กัน จะทําใหเรามองเห็นเปน เสน รูปราง รูปทรง ลักษณะผิว และการออกแบบที่นาตื่นเตนได จากจุดหนึ่ง ถึงจุดหนึ่งมีเสนที่มองไมเห็นดวย ตา แตเห็นไดดวยจินตนาการ เราเรียกวา เสนโครงสราง

2. เสน ( Line ) เกิดจากจุดที่เรียงตอกันในทางยาว หรือเกิดจากการลากเสนไปยัง ทิศทางตางๆ มีหลายลักษณะ เชน ตั้ง นอน เฉียง โคง ฯลฯ เสนมีมิติเดียว คือ ความยาว ไมมีความ กวาง ทําหนาที่เปนขอบเขต ของที่วาง รูปราง รูปทรง น้ําหนัก สี ตลอดจนกลุมรูปทรง ตางๆ รวมทั้งเปนแกนหรือ โครงสรางของรูปรางรูปทรง เสนเปนพื้นฐานที่สําคัญ ของงานศิลปะทุก ชนิด เสนสามารถใหความหมาย แสดงความรูสึก และอารมณไดดวยตัวเอง

ภาพที่ 2.33 ภาพแสดงลักษณะของเสน

1. เสนตั้ง หรือ เสนดิ่ง ใหความรูสึกทางความสูง สงา มั่นคง แข็งแรง หนักแนนเปน สัญลักษณของความซื่อตรง

2. เสนนอน ใหความรูสึกทางความกวาง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผอนคลาย

3. เสนเฉียง หรือ เสนทะแยงมุม ใหความรูสึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไมมั่นคง

4. เสนหยัก หรือ เสนซิกแซก แบบฟนปลา ใหความรูสึก เคลื่อนไหว อยางเปนจังหวะ มีระเบียบ ไมราบเรียบ นากลัว อันตราย ขัดแยง ความรุนแรง

5. เสนโคง แบบคลื่น ใหความรูสึก เคลื่อนไหวอยางชา ๆ ลื่นไหล ตอเนื่อง สุภาพ ออนโยน

6. เสนโคงแบบกนหอย ใหความรูสึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทาง ที่ หมุนวนออกมา ถามองเขาไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไมสิ้นสุด

7. เสนโคงวงแคบ ใหความรูสึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยนทิศทางที่

รวดเร็ว

8. เสนประ ใหความรูสึกที่ไมตอเนื่อง ขาด หาย ไมชัดเจน ทําใหเกิดความเครียด ความสําคัญของเสน

1. ใชในการแบงที่วางออกเปนสวน ๆ

2. กําหนดขอบเขตของที่วาง หมายถึง ทําใหเกิดเปนรูปราง ( Shape ) ขึ้นมา 3. กําหนดเสนรอบนอกของรูปทรง ทําใหมองเห็นรูปทรง ( Form ) ชัดขึ้น 4. ทําหนาที่เปนน้ําหนักออนแก ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาดวยเสน 5. ใหความรูสึกดวยการเปนแกนหรือโครงสรางของรูป และโครงสรางของภาพ 3. รูปรางและรูปทรง ( Shape and Form ) รูปราง คือ พื้นที่ ๆ ลอมรอบดวยเสนที่แสดง ความกวาง และความยาว รูปรางจึงมีสองมิติ รูปทรง คือ ภาพสามมิติที่ตอเนื่องจากรูปราง โดยมี

ความหนา หรือความลึก ทําใหภาพที่เห็นมี ความชัดเจน และสมบูรณ รูปรางและรูป ทรงที่มีอยูใน งานศิลปะมี 3 ลักษณะ คือ

3.1 รูปเรขาคณิต ( Geometric Form ) มีรูปที่แนนอน มาตรฐาน สามารถวัดหรือ คํานวณไดงาย มีกฎเกณฑ เกิดจากการสรางของมนุษย เชน รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี

ภาพที่ 2.34 ภาพแสดงรูปราง และรูปทรง

ภาพที่ 2.35 ภาพแสดงรูปรางเรขคณิต

3.2 รูปอินทรีย ( Organic Form ) เปนรูปของสิ่งที่มีชีวิต หรือ คลายกับสิ่งมีชีวิตที่

สามารถ เจริญเติบโต เคลื่อนไหว หรือเปลี่ยนแปลงรูปได เชนรูปของคน สัตว พืช

ภาพที่ 2.36 ภาพแสดงรูปทรงอินทรีย

3.3 รูปอิสระ ( Free Form ) เปนรูปที่ไมใชแบบเรขาคณิต หรือแบบอินทรีย แต

เกิดขึ้นอยางอิสระ ไมมีโครงสรางที่แนนอน ซึ่งเปนไปตามอิทธิพล และการกระทําจาก สิ่งแวดลอม เชน รูปกอนเมฆ กอนหิน หยดน้ํา ควัน ซึ่งใหความรูสึกที่เคลื่อนไหว มีพลัง

ภาพที่ 2.37 ภาพแสดงรูปทรงอิสระ

4. น้ําหนัก ( Value ) หมายถึงความออนแกของสี หรือแสงเงาที่นํามาใชในการเขียนภาพ น้ําหนัก ทําใหรูปทรงมีปริมาตร และใหระยะแกภาพ

คาน้ําหนัก คือ คาความออนแกของบริเวณที่ถูกแสงสวาง และบริเวณที่เปนเงาของวัตถุ

หรือ ความออน - ความเขมของสีหนึ่ง ๆ หรือหลายสี นอกจากนี้ยังหมายถึงระดับความเขมของ แสงและระดับ ความมืดของเงาซึ่งไลเรียงจากมืดที่สุด (สีดํา) ไปจนถึงสวางที่สุด ( สีขาว ) น้ําหนัก ที่อยูระหวางกลางจะเปนสีเทา ซึ่งมีตั้งแตเทาแกที่สุด จนถึงเทาออนที่สุด การใชคาน้ําหนักจะทํา ใหภาพดูเหมือนจริง และมีความกลมกลืน

ภาพที่ 2.38 ภาพแสดงคาน้ําหนัก

5. แสงและเงา ( Light & Shade ) เปนองคประกอบของศิลปที่อยูคูกัน แสง เมื่อสอง กระทบ กับวัตถุ จะทําใหเกิดเงา แสงและเงา เปนตัวกําหนดระดับของคาน้ําหนัก ความเขมของเงา จะ ขึ้นอยูกับความเขมของแสง คาน้ําหนักของแสงและเงาที่เกิดบนวัตถุ สามารถจําแนกเปนหลาย ลักษณะที่

ภาพที่ 2.39 ภาพแสดงแสงและเงา

6. พื้นผิว ( Texture ) หมายถึง สวนที่เปนพื้นผิวของวัตถุที่มีลักษณะตางๆ กัน เชน เรียบ ขรุขระ หยาบ มัน นุม ฯลฯ ซึ่งเราสามารถมองเห็นและสัมผัสได การนําพื้นผิวมาใชในงานศิลปะ จะชวยใหเกิดความเดนในสวนที่สําคัญ และยังทําใหเกิดความงามสมบูรณ

ลักษณะที่สัมผัสไดของ พื้นผิว มี 2 ประเภท คือ

1. พื้นผิวที่สัมผัสไดดวยมือ หรือกายสัมผัส เปนลักษณะพื้นผิวที่เปนอยูจริงๆ ของ ผิวหนาของวัสดุนั้นๆ ซึ่งสามารถสัมผัสไดจากงานประติมากรรม งานสถาปตยกรรม และ สิ่งประดิษฐอื่นๆ

2. พื้นผิวที่สัมผัสไดดวยสายตา จากการมองเห็นแตไมใชลักษณะที่แทจริงของผิววัสดุ

นั้นๆ เชน การวาดภาพกอนหินบนกระดาษ จะใหความรูสึกเปนกอนหินแต มือสัมผัสเปน กระดาษ หรือใชกระดาษพิมพลายไม หรือลายหินออนเพื่อปะ ทับ บนผิวหนาของสิ่งตางๆ เปนตน ลักษณะเชนนี้ถือวา เปนการสรางพื้นผิวลวงตา ใหสัมผัสไดดวยการมองเห็น เทานั้น