• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย

5.1 สรุปผลการวิจัย

บทที่ 5

ชุมชนบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงคราม คือ นักทองเที่ยวมีความสนใจตอเสนทางการทองเที่ยว ในตําบลบางนกแขวก เพื่อศึกษาหาความรูทางดานวิถีชีวิตชุมชนเชิงประวัติศาสตรโดยใชกิจกรรม ทางการทองเที่ยวเปนตัวชวยเสริม ทั้งดานศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของคนในชุมชน ทางดาน เกษตรกรรม และวิถีชีวิตความเปนอยูในหลากหลายแงมุม สวนรูปแบบคูมือทางการทองเที่ยวของ ชุมชนบางนกแขวกนั้น จะตองคงความเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น โดยการนําเสนอเรื่องราวมาจาก วิถีชีวิตของคนในชุมชนในรูปแบบการเลาเรื่องแบบนิยาย และการใชภาพประกอบแบบภาพวาด ลายเสน ภาพสีน้ําเพื่อใหเกิดความรูสึกสบายๆเมื่อไดมาพักผอน ลักษณะการจัดวางรูปภาพและ ตัวอักษร ควรมีลักษณะผสมผสานกัน มีภาพเล็กประกอบกับภาพใหญ ขนาดที่เหมาะสมสําหรับ คูมือการทองเที่ยวของชุมชนบางนกแขวกคือ ขนาด A5 หรือพ็อกเก็ตสบุค เพื่อใหสะดวกตอการ พกพางาย เนื้อหาดานในตองมีรายละเอียดเกี่ยวกับเสนทางการทองเที่ยวที่แสดงถึงการทองเที่ยว ภายในชุมชน มีแผนที่ขนาดใหญ ดูชัดเจน แสดงสถานที่ทองเที่ยวตางๆ และคูมือการทองเที่ยว ตองมีลักษณะเหมือนของฝากที่ทําใหไดคิดถึงหรืออยากหวนกลับมาเยี่ยมเยือนอีกครั้งหนึ่ง ภาพลักษณที่นักทองเที่ยวนึกถึงมากที่สุดในการมาทองเที่ยวที่ชุมชนบางนกแขวก คือการไดสัมผัส กับวัฒนธรรมที่แทจริงของชุมชน (sense of place) ที่เกี่ยวเนื่องกับสายน้ํา วิถีชีวิตความเปนอยู

ศาสนา และวัฒนธรรมที่เปนสวนหลอหลอมใหเกิดเปนมิตรภาพ ความมีน้ําใจของคนในชุมชน ซึ่ง ถือเปนเสนหและเอกลักษณเฉพาะของชุมชนบางนกแขวกที่หาไดยากยิ่งในสังคมปจจุบัน ผลการวิจัย

จากการวิเคราะหขอมูลสามารถปรากฏวา ชุมชนบางนกแขวก อําเภอบางคนที จังหวัด สมุทรสงคราม เปนชุมชนที่มีประวัตยาวนานตั้งแตสมัยกอนสงครามโลกครั้งที่สอง มีความ

เจริญรุงเรืองมาก เปนตลาดแหงแรกในจังหวัดสมุทรสงครามที่เปนศูนยรวมแหงความเจริญในอดีต ซึ่งผูกพันกับสายน้ํา ตอมาเมื่อมีถนนตัดผาน คนที่เคยใชเรือเปนพาหนะเปลี่ยนมาใชรถแทน การ สัญจรทางน้ําจึงหมดลง ตลาดที่เคยคึกคักในอดีตจึงหมดความสําคัญลง ทิ้งไวเพียงรอยรองแหง ความเจริญในอดีต ในปจจุบันบางนกแขวกเปนสถานที่เที่ยวสําคัญทางประวัติสาสตร มีตลาดเกา รอยป เปนเรือนแถวริมน้ําปากคลองบางนกแขวก มีสถานที่สําคัญหลายอยาง เชน โบสถแมพระ บังเกิด,วัดเจริญสุขาราม,วัดบางกุง เปนตน ชุมชนบริเวณนี้มีอาชีพเปนชาวสวน ชาวประมง และ คาขาย คนสวนใหญในชุมชนบางนกแขวกมีเชื้อสายเปนคนจีน จึงมีวิถีชีวิต และประเพณีมาอยาง แบบที่สืบสานตอกันมา

สรุปผลตามวัตถุประสงคงานวิจัยขอ 1. เพื่อรวบรวมขอมูลแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษของ ชุมชนบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงครามจากผลการวิจัยสามารถแบงเสนทาง การทองเที่ยวของ ชุมชนบางนกแขวกออกเปน 4 เสนทาง ไดแก 1 )เสนทางการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร 2 ) เสนทางการทองเที่ยวเชิงวิถีชีวิตชุมชน 3 )เสนทางการทองเที่ยวเชิง ภูมิปญญาและของพื้นถิ่น 4) เสนทางการทองเที่ยวเชิงประเพณีและเทศกาล โครงสรางของชุมชนบางนกแขวกนั้น แบงไดเปน 2 ลักษณะที่ชัดเจน คือ 1)ชุมชนชาวสวน เปนกลุมชุมชนที่มีการตั้งถิ่นฐานกระจายตัวอยูทั่วไปใน บริเวณที่หางออกไปจากปากคลองบางนกแขวก สวนใหญมีการประกอบอาชีพในการทําสวนผลไม

โดยการใชประโยชนจากโครงขายของคลองตางๆ ที่ไหลผานยังพื้นที่ของตนอยางเปนระบบได

อยางดียิ่ง ซึ่งจากหลักฐานทางประวัติศาสตรคาดวาเปนกลุมชุมชนเริ่มแรกในการตั้งถิ่นฐานของ พื้นที่ โดยมีความสัมพันธกับการกอสรางวัดมาแตเดิม 2) ชุมชนริมน้ํา เปนกลุมชุมชนที่มีการตั้งถิ่น ฐานขึ้นมาพรอมๆ กับตลาดน้ําบริเวณปากคลองอัมพวา โดยสวนใหญมีการประกอบอาชีพเพื่อ การคาขายเปนหลัก สังเกตไดจากปายชื่อรานคาตางๆ แบบโบราณที่ยังคงมีใหพบเห็นบางในบาง หลัง ถึงแมวาในปจจุบันอาคารรานคาตางๆ เหลานี้ไดเปลี่ยนสภาพมาเปนอาคารบานพักอาศัย ทั่วไป ทั้งนี้ชุมชนรานคาริมคลองที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้นับไดวาเปนชุมชนที่มีเอกลักษณทางการตั้ง ถิ่นฐานเฉกเชนชุมชนริมน้ําดั้งเดิมในภาคกลางของประเทศไทย

ตารางที่ 5.1 เสนทางที่นํามาใชในคูมือการทองเที่ยวของชุมชนบางนกแขวก เสนทาง ประเภทการทองเที่ยวใน

ชุมชนบางนกแขวก

สถานที่ทองเที่ยว 1 การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร 1.1 วัดโพธิ์งาม โบสถปรกโพธ unseen Thailand

1.2 วัดเจริญสุขาราม หลวงพอโต

1.3 อนุสรณสถานลูกระเบิด ประตูน้ําบางนกแขวก 1.4 คายบางกุง อยูบริเวณเดียวกับโบสถปรกโพธ ที่ตั้งคาย สมเด็จพระเจาตากสิน

1.5 อาสนพระแมบังเกิด โบสถคริส สถาปตยกรรมแบบโกธิค 1.6 ศาลเจาพอปู อยูกอนทางเขาตลาดบางนกแขวก

2 การทองเที่ยวชมวิถีชีวิตชุมชน 2.1 เรียนรูความพอเพียง ณ ศูนยการเรียนรูการเกษตรบานบาง พลับ

2.2 ลองเรือชมสวน ชมวิถีชีวิตริมฝงคอง ชมตนไมในวรรณคดี

ตนมะมวงหาวมะนาวโห

2.3 ตกกุงกลางแมน้ําแมกลอง

2.4 ลงเลนน้ําคลอง บริเวณตลาดบางนกแขวก

2.5 ตรอกโรงฝน เปนโรงฝนเกา บริเวณทางเขาตลาดบางนก แขวก

3 การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประเพณี และของพื้นถิ่น

3.1 ตักบารตขนมครก

3.2 ลอยกระทงกะลา กาบกลวย 3.3 เทศกาลลิ้นจี่

3.4 ไหวศาลเจาพอ ตรุษจีน 4 การทองเที่ยวภูมิปญญาและของ

พื้นถิ่น

4.1 บริเวณตลาดบางนกแขวก 4.2 บริเวณริมน้ําวัดเจริญสุขาราม

สรุปผลตามวัตถุประสงคงานวิจัย ขอ 2.เพื่อศึกษาระดับความสนใจของนักทองเที่ยวตอ แหลงทองเที่ยวของชุมชนบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงคราม จากแบบสอบ ถามนักทองเที่ยว จํานวน 100 ชุด เพื่อสอบถาม แหลงทองเที่ยวและกิจกรรมที่นักทองเที่ยวสนใจในชุมชนบางนก

แขวก พฤติกรรมและความตองการของนักทองเที่ยวตอคูมือการทองเที่ยว ในชุมชนบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงครามซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้

ระดับความสนใจของนักทองเที่ยว นักทองเที่ยวตองการเสนทางการทองเที่ยวในชุมชน บางนกแขวกมากที่สุด ภาพลักษณทางการทองเที่ยวของชุมชนบางนกแขวกในสายตานักทองเที่ยว สามารถสรุปเสนทางการทองเที่ยงเปน 3 ลักษณะ ที่จะนํามาใชในการสรางคูมือการทองเที่ยวดวย ตนเองใหกับชุมชนบางนกแขวก คือ1)การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร (Historical tourism) 2)การ ทองเที่ยวชมงานวัฒนธรรมและประเพณี (Cultural & Traditional Tourism) 3)การทองเที่ยวชมวิถี

ชีวิตในชนบท (Rural Tourism / Village Tourism) ภาพลักษณที่นักทองเที่ยวสนใจมากที่สุดคือ การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร และการไดสัมผัสกับวิถีชีวิตชุมชน สวนภาพลักษณที่นักทองเที่ยว นึกถึงนอยที่สุด คือภาพลักษณเชิงประเพณีและเทศกาล

ตารางที่ 5.2 สรุประดับความสนใจของนักทองเที่ยว ที่มีตอแหลงทองเที่ยวในชุมชนบางนกแขวก จังหวัดสมุทรสงคราม

แหลงทองเที่ยว คาเฉลี่ย

เชิงประวัติศาสตร พิพิธภัณฑ 3.36

วัด 3.75

ตลาดน้ํา 4.28

ตลาดเกาโบราณ 4.28

เชิงวิถีชีวิต ลองเรือชมหิ่งหอย 4.46

ลองเรือชมสวน/วิถีชีวิต 4.04 มิตรภาพของคนในชุมชน 4.03 ผลิตภัณฑของที่ระลึก 3.52 ผลิตภัณฑทางการเกษตร 3.2

เชิงประเพณี/เทศกาล ตักบาตรขนมครก 3.1

ไหวศาลเจาพอ 3.09

พฤติกรรมในการเลือกรูปแบบคูมือการทองเที่ยวชุมชนบางนกแขวกจากกลุมนักทองเที่ยว ผลปรากฎวา นักทองเที่ยวตองการเสนทางการทองเที่ยวในชุมชนบางนกแขวกมากที่สุด รูปแบบ ของคูมือทางการทองเที่ยวของชุมชนบางนกแขวกนั้น จะตองคงความเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น มากที่สุด โดยการนําเสนอเรื่องราวมาจากวิถีชีวิตของคนในชุมชนในรูปแบบการเลาเรื่องให

หลากหลาย มีการจัดหนาแบบนิตยาสาร และการใชภาพประกอบแบบภาพวาดลายเสน ภาพสีน้ํา เพื่อใหเกิดความรูสึกสบายๆเมื่อไดมาพักผอน ลักษณะการจัดวางรูปภาพและตัวอักษร ควรมี

ลักษณะผสมผสานกัน มีภาพพรอมขอความ มีภาพเล็กประกอบกับภาพใหญ ขนาดที่เหมาะสม สําหรับคูมือการทองเที่ยวของชุมชนบางนกแขวกคือ ขนาด A5 หรือพ็อกเก็ตสบุค เพื่อใหสะดวก ตอการพกพางาย เนื้อหาดานในตองมีรายละเอียดเกี่ยวกับเสนทางการทองเที่ยวที่แสดงถึงการ ทองเที่ยวภายในชุมชน มีแผนที่ขนาดใหญ ดูชัดเจน แสดงสถานที่ทองเที่ยวตางๆ และคูมือการ ทองเที่ยวควรมีลักษณะเหมือนของฝากที่เปนสื่อประชาสัมพันธ ที่ทําใหไดคิดถึงหรือหวนกลับมา เยี่ยมเยือนอีกครั้งหนึ่ง

ตารางที่ 5.3 สรุปรูปแบบความตองการของนักทองเที่ยวตอคูมือการทองเที่ยวดวยตนเองของ ชุมชนบางนกแขวก

รูปแบบ คาเฉลี่ย

ประเภทของหนังสือ นิตยสาร 4.06

หนังสือพิมพ 3.56

หนังสือการตูน 3.91

หนังสือนวนิยาย 3.63

หนังนําเที่ยว 3.51

การจัดวางภาพประกอบ ภาพเดี่ยวเต็มหนา 3.77

ภาพพรอมขอความ 4.2

ภาพหลายภาพในหนึ่งหนา 3.88

ภาพขนาดเล็ก/ใหญ 4.04

วัตถุประสงคในการอาน เพื่อพักผอน 4.4

เพื่อความบันเทิง 4.15

เพื่อหาความรู 4.32

ขนาดที่เหมาะสม ขนาด F4 2.95

ขนาด A3 3.27

ขนาด A5 4.39

ประโยชนใชสอย พกพาสะดวก 4.1

แผนที่ขนาดใหญ/ชัดเจน 4.52 ลักษณะ 2 มิติ (pop up) 2.74

ประโยชนของหนังสือ เปนของฝาก 4.01

เปนสื่อการเรียน 3.64

เปนสื่อประชาสัมพันธ 4.6

รูปแบบ มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น 4.67

มีความรวมสมัย 4.42

มีความเปนไทย 4.51