• Tidak ada hasil yang ditemukan

ภาพประกอบ 16 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

1. แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะครู

2.4 การบริหารจัดการชั้นเรียน

2. สมรรถนะครูของสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาในปี

พ.ศ. 2549 สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ได้จัดท าโครงการสร้างระบบการ พัฒนาครู เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาครูอย่างเป็นระบบโดยยึดหลักการพัฒนาสมรรถนะของครูใน ด้านการจัดการเรียนการสอนที่ค านึงถึงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นส าคัญและพัฒนาสมรรถนะที่

จ าเป็นในการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู เพื่อให้ครูเพิ่มพูนสมรรถนะในการปฏิบัติงาน อย่างต่อเนื่อง สามารถพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพระดับสูง และมีความก้าวหน้าในวิชาชีพ โดยมี

ขั้นตอนในการด าเนินงานดังนี้

1. จัดท ากรอบแนวคิดระบบการพัฒนาครู โดยศึกษาและสังเคราะห์ข้อมูลจาก เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

2. การก าหนดสมรรถนะที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานของครู โดยด าเนินการ ดังนี้

2.1 วิเคราะห์หน้าที่หลักด้านกาเรียนการสอน การส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียน คุณลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพครูและด้านอื่น ๆ จากเอกสารที่เกี่ยวข้อง

2.2 น าข้อมูลจากข้อ 2.1 มาระบุความสามารถ (ความรู้ /ความคิด/ทักษะ) และคุณลักษณะ คุณธรรมที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงานของครูเป็นด้านๆ เช่น ด้านหลักสูตร ด้านการ จัดการเรียนการสอน ด้านการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาวิชาชีพ ด้านคุณลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม

145 และจรรยาบรรณวิชาชีพ ด้านการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านความร่วมมือกับ ชุมชนและพัฒนาสิ่งแวดล้อม

2.3 สังเคราะห์ความสามารถที่เหมือนกันหรือซ้ ากันในแต่ละด้านเข้าด้วยกัน เพื่อไม่ให้ซ้ าซ้อน

3. ประชุมปฏิบัติการจัดท า (ร่าง) ระบบการพัฒนาครู และสมรรถนะที่จ าเป็นใน การปฏิบัติงานของครูร่วมกับผู้เชี่ยวชาญประจ าโครงการ โดยใช้ข้อมูลข้อ 1 ข้อ2

4. การจัดท าแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) ระบบพัฒนาครูและ สมรรถนะที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานของครู

5. จัดประชุมปฏิบัติการเพื่อเสวนาและระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) ระบบพัฒนาครู สมรรถนะที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานของครู ระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง (ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ ครูแห่งชาติ ครูต้นแบบ

ครูปฏิบัติการ) จ านวน 94 คน พร้อมทั้งให้ผู้เข้าร่วมประชุมตอบแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) ระบบการพัฒนาครู และสมรรถนะที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานของครู

6. ประมวลแนวคิดเกี่ยวกับระบบการพัฒนาครู และความคิดเห็นเกี่ยวกับ สมรรถนะที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานของครู จากการอภิปรายของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เกี่ยวข้อง และ แบบสอบถาม ด าเนินการสังเคราะห์และสรุปผลออกเป็นประเด็นเพื่อดูความสอดคล้อง และสิ่งที่

เพิ่มเติมใหม่จาก (ร่าง) ระบบการพัฒนาครู และสมรรถนะที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานของครู

7. น าผลสรุปจากข้อ 6 มาพิจารณาความส าคัญ ความจ าเป็น และความเป็นไปได้

ร่วมกับผู้เชียวชาญประจ า โครงการ แล้วน ามาปรับปรุง (ร่าง) ระบบการพัฒนาครูและสมรรถนะที่

จ าเป็นในการปฏิบัติงานของครู พร้อมก าหนดตัวบ่งชี้ของแต่ละสมรรถนะจากการด าเนินการดังกล่าว สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาได้ก าหนดสมรรถนะที่จ าเป็นในการปฏิบัติงาน ของครูและตัวบ่งชี้ ดังตาราง 11 (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพรทิพย์ แข็งขัน, 2551)

146 ตาราง 11 สมรรถนะที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานของครูและตัวบ่งชี้

ข้อ สมรรถนะ ตัวบ่งชี้

1 ความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพื่อ การสื่อสาร

1. การจับใจความและสรุปจากการอ่านและการฟัง

2. ความชัดเจนในการอธิบายและยกตัวอย่างในการพูดและการ เขียน

3. การเรียงล าดับขั้นตอนในการพูดและการเขียน

4. ความชัดเจน ถูกต้องในการพูดและการเขียนตามอักขระวิธี

และไวยากรณ์

2 ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการแสวงหาความรู้

1. การใช้ประโยคในการพูดและการเขียน

2. การแปลความและสรุปประเด็นจากการอ่านและการฟัง 3. การสื่อความเข้าใจโดยการสนทนาซักถาม

3 ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์

เพื่อการแสวงหาความรู้

1. การใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2. การใช้อินเตอร์เน็ต

3. การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์

4 ความสามารถในการสร้างและพัฒนา หลักสูตร

1. ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบและกระบวนการสร้าง หลักสูตร

2. การด าเนินการสร้างหลักสูตร

3. การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อการน าหลักสูตรไปใช้

4. การน าหลักสูตรไปใช้

5. การประเมินและปรับปรุงหลักสูตร 5 ความสามารถในการจัดกระบวนการ

เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

1. การออกแบบกิจกรรมและจัดท าแผนการเรียนรู้

2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดระดับสูงและ การปฏิบัติจริง

3. การเลือกใช้ พัฒนา และผลิตสื่อการสอน 4. การสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ให้กับผู้เรียน

5. การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของผู้เรียน

6. การแสวงหาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญหาท้องถิ่น 6 ความสามารถในการจัดการชั้นเรียน 1. การจัดมุมประสบการณ์การเรียน

2. การสร้างปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน

3. การให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชั้นเรียน 4. การแก้ปัญหาในชั้นเรียน

147 ตาราง 11 (ต่อ)

ที่ สมรรถนะ ตัวบ่งชี้

7 ความสามารถในการพัฒนาและการ ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. การเลือกใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การออกแบบนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. การผลิตนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ

4. การหาประสิทธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ 5. การปรับปรุงพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ความสามารถในการประเมินผลการ

เรียนรู

1. การสร้างเครื่องมือวัดผล 2. การหาคุณภาพของเครื่องมือ 3. การน าเครื่องมือไปใช้วัดผลการเรียนรู้

4. การประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง

5. การน าผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน 9 ความสามารถในการท าวิจัยใน

ชั้นเรียน

1. การเลือกปัญหาในการวิจัย 2. การออกแบบการวิจัย

3. การรวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลการวิจัย 4. การเขียนรายงานการวิจัย

5. การน าผลการวิจัยไปใช้

10 ความสามารถในการแนะแนวและให้

ค าปรึกษา

1. การเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน 2. การวิเคราะห์ปัญหาของผู้ เรียน

3. การเลือกเทคนิคในการแนะแนวและให้ค าปรึกษา 4. ทักษะการให้ค าปรึกษา

5. การติดตามประเมินผลการให้ค าแนะน า 11 ความสามารถในการสร้างความ

ร่วมมือกับชุมชน

1. การประสานให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ 2. การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน

3. การจัดบริการให้ชุมชนเข้ามาใช้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้และ นันทนาการ

4. การร่วมมือกับชุมชนเพื่อป้องกันและแก้ปัญหาต่างๆ 5. การร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม 12 ความสามารถในการปฏิบัติตนเป็น

ครูผู้น า

1. ความรู้วามสามารถเป็นที่ยอมรับ

1.1 การจัดการเรียนการสอนของครูเป็นที่พอใจของผู้เรียน เพื่อนครู

และผู้ปกครอง

1.2 การมีความรู้กว้างขวาง ลึกซึ้ง แม่นย าในสาระที่สอน 1.3 มีความรอบรู้ และความสามารถพิเศษ

148 ตาราง 11 (ต่อ)

ที่ สมรรถนะ ตัวบ่งชี้

12 ความสามารถในการปฏิบัติตน เป็นครูผู้น า

Garis besar

Dokumen terkait