• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

สารบัญภาพประกอบ

5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

นนทลี พรธาดาวิทย์ (2559) องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning มีดังต่อไปนี้

1. ผู้สอนควรก าหนด เป้าประสงค์ (Purposive) โดยเป้าประสงค์นั้นควรสัมพันธ์

กับกิจกรรม/งานที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เน้นการพัฒนาทักษะผู้เรียนมากกว่า การเนื้อหา เน้นการสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

2. ผู้เรียนควรมีส่วนร่วมในการก าหนดแนวคิด การวางแผนการเรียนรู้

การยอมรับ การประเมินผล และการน าเสนอผลงาน

3. วิธีการจัดการเรียนรู้สามารถสะท้อน สิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้ได้จากกิจกรรม และสามารถผู้เรียนได้รับข้อมูลสะท้อนกลับจากผู้สอนทันทีทันใดในการท ากิจกรรม

4. ควรมีกิจกรรมการเจรจาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน 5. ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนวิพากษ์วิจารณ์ ในสิ่งที่ผู้เรียนชื่นชอบ และไม่ชอบ รวมทั้งวิจารณ์เกี่ยวกับเนื้อหาในการเรียนรู้

38 6. ผู้สอนต้องออกแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจ และความแตกต่าง ของผู้เรียนแต่ละคน แต่ละกิจกรรมที่ท าต้องมีความหมายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับ ชีวิตจริง แก้ปัญหาได้ตามสภาพจริง (Authentic Situation)

7. การจัดการเรียนรู้ที่มีการสร้างสถานการณ์ เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดใน ระดับสูง (Higher Order Thinking) ได้แก่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินผล เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหา หรือสถานการณ์นั้น

8. การจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เรียน กับชีวิตจริง หรือสถานการณ์

จริง รวมถึงการบูรณาการวิชาต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้

9. การจัดการเรียนรู้ที่ท าให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกเรียนเหมือนไม่เรียน สนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ จัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เอื้อต่อการท างานร่วมกับผู้อื่น ใช้กระบวนการกลุ่ม

และมีการประเมินผลที่หลากหลายทั้งตัวผู้เรียน เพื่อนและผู้สอน

10. การจัดการเรียนรู้ที่ไม่จ ากัดเฉพาะการเรียนรู้ภายในห้องเรียน สามารถเรียนรู้

ได้ทุกสถานการณ์ ทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียน ที่บ้าน และสามารถเรียนรู้ได้จากบุคคลทุกคนที่

เกี่ยวข้องท าให้ความรู้ไม่มีขอบเขตจ ากัด

จิรภา อรรถพร (2556) ได้น าเสนอองค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มีดังต่อไปนี้

1. บทบาทผู้สอน (Teacher Roles) หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนจะมีบทบาทเป็นเพียงผู้ชี้แนะในกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน เตรียมเนื้อหาในการเรียนการสอน เตรียมแผนการจัดการเรียนรู้ คอยตอบค าถามข้อสงสัยของผู้เรียน และเป็นผู้คอยสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียนจากร่องรอยบนระบบจัดการเรียนรู้เท่านั้น

2. บทบาทผู้เรียน (Student Roles) หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เชิงรุกที่ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติและเรียนรู้สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุก ๆ กิจกรรม คือ การค้นคว้าหาความรู้ การระดมสมอง การสรุปความคิดรวบยอดการสะท้อนคิด และเน้นให้ผู้เรียนมี

ปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ผู้เรียนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักท างานร่วมกับ เพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน

3. ระบบจัดการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) หมายถึง โปรแกรมจัดการเรียนรู้ที่ท าหน้าที่ เป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก เพื่อใช้ในการบันทึก และสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ทั้งนี้จะช่วยให้ผู้เรียนและผู้สอนจะเข้าถึงเนื้อหาและใช้งาน ได้ง่าย โดยมีเครื่องมือทางด้านการจัดการ การปรับปรุงการควบคุม การส ารองข้อมูล การสนับสนุน ข้อมูล การบันทึกสถิติผู้เรียนและการประเมินผล ซึ่งผู้เรียนต้องท าการเข้าสู่ระบบในการเรียนการสอน

39 ทุกครั้ง โดยผู้สอนมีหน้าที่ดูแลระบบ และตรวจสอบร่องรอยพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนผ่านระบบ จัดการเรียนรู้

4. เนื้อหาของบทเรียน (Content) หมายถึง การออกแบบที่เน้นกลยุทธ์การให้

ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน ผู้เรียน และเพื่อนร่วมชั้นเรียน กระตุ้นให้

ผู้เรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ มีแบบฝึกหัดให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามค าสั่ง และสามารถ ตรวจสอบความเข้าใจและความสนใจในบทเรียนของผู้เรียนได้

5. การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student-centered Teaching) หมายถึง การจัดการเรียนการสอนการจัดกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ด้วยตนเองผู้สอนจะเป็นเพียงผู้คอยสังเกตการณ์และคอยชี้แนะผู้เรียน โดยค านึงถึง ประโยชน์ของผู้เรียนเป็นประการส าคัญ เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ปรับพฤติกรรมการเรียนรู้ที่มีอยู่เดิมไปสู่

พฤติกรรมการเรียนรู้ที่พึงประสงค์

6. การติดต่อสื่อสารผ่านเทคโนโลยี (Communication Technology) หมายถึง การติดต่อสื่อสารกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้เรียนและผู้เรียน ซึ่งเป็นการสนทนาทั้งแบบประสาน เวลา (Synchronous Discussions) และแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Discussions) อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือช่วยในการน าเสนอเนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน

7. กระบวนการส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้ (Behavior Modification Process) หมายถึง กระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนจากการเรียนรู้ที่

ผู้เรียนเป็นฝ่ายตั้งรับเพียงอย่างเดียว (Passive Learner) ให้เป็นผู้เรียนที่มีความกระตือรือร้นในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง (Active Learner)

8. การสะท้อนการเรียนรู้ของผู้เรียน (Learning Reflection) หมายถึง การจัดกิจกรรมการสอนให้ผู้เรียนได้สะท้อนคิดเกี่ยวกับองค์ความรู้ทั้งหมดหลังจากได้เข้าร่วมกิจกรรม การเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดความคิดรวบยอดในสิ่งที่ได้เรียนรู้

9. การวัดและประเมินผล (Measurement and Evaluation) หมายถึง การประเมินผลการปรับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนหลังการเรียนโดยรูปแบบการสอนเชิงรุก และประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนด้วยรูปแบบการสอนเชิงรุก ผู้เรียน มีการประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของตนเองหลังจากการได้เรียนผ่านรูปแบบการสอนเชิงรุก เพื่อปรับพฤติกรรมการเรียนรู้

Meyers และ Jones (1993) ได้ก าหนดองค์ประกอบของการจัดการเรียนเชิงรุก เพื่อเป็นแนวทางส าหรับการจัดการเรียนการสอนไว้ว่า ประกอบด้วยปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกัน 3 ประการ ได้แก่

40 1. ปัจจัยพื้นฐาน (Basic Element)

1.1 การพูดและการฟัง (Talking and listening) 1.2 การเขียน (Writing)

1.3 การสะท้อนความคิด (Reflecting) 2. กลวิธีในการเรียนรู้ (Learning Strategies) 2.1 กลุ่มขนาดเล็ก (Small groups)

2.2 การท างานร่วมกัน (Cooperation work) 2.3 กรณีศึกษา (Case studies)

2.4 สถานการณ์จ าลอง (Simulations) 2.5 การอภิปราย (Discussions) 2.6 การแก้ปัญหา (Problem solving) 2.7 การเขียนบทความ (Journal writing)

3. ทรัพยากรทางการสอน (Teaching Resources) 3.1 การอ่าน (Reading)

3.2 การก าหนดการบ้าน (Homework assignments) 3.3 วิทยากรภายนอก (Outside speakers)

3.4 การใช้เทคโนโลยีในการสอน (Teaching technology)

3.5 การเตรียมอุปกรณ์การศึกษา (Prepared educational materials) 3.6 โทรทัศน์ทางการศึกษา (Commercial and educational television) การพูด และการฟังมีความส าคัญเพราะจะท าให้ผู้สอนทราบถึงความคิดของ ผู้เรียน ผู้สอนต้องสร้างตัวอย่างของการพูดที่ดีโดยการสอน ขณะเดียวกันผู้สอนควรฟังความคิดเห็น ของผู้เรียนด้วย และหากผู้เรียนไม่เข้าใจในเรื่องใดผู้สอนต้องให้ความช่วยเหลือโดยการอธิบายเพิ่มเติม ในด้านการเขียน การเขียนจะช่วยให้ความคิดของผู้เรียนชัดเจนขึ้นและเป้าหมายของการเขียนในการ เรียนรู้เชิงรุก คือ ช่วยให้ผู้เรียนได้ส ารวจความคิดของตนเองเกี่ยวกับมโนทัศน์ หรือประเด็นที่ได้ศึกษา เพื่อให้เกิดความเจริญงอกงามทางสติปัญญา

การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สังเคราะห์องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก จากเอกสาร หนังสือ ต าราที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของนักวิชาการทั้งไทยและต่างประเทศ

ดังตาราง 1

41 ตาราง 1 ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์เอกสาร หนังสือ ต าราที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของการ

จัดการเรียนรู้เชิงรุก

จากตาราง 1 พบว่า ความถี่ของการออกแบบการเรียนรู้ มีค่าสูงสุด รองลงมาคือ การใช้และพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น ทักษะการคิดและปฏิบัติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง การสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์

ให้กับผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล การแสวงหาแหล่งเรียนรู้

และภูมิปัญญาท้องถิ่น การสร้างและพัฒนาหลักสูตร ส าหรับการพิจารณาองค์ประกอบการจัดการ เรียนรู้เชิงรุก ผู้วิจัยใช้หลักการพิจารณาจากความถี่ใน 3 ล าดับแรก คือ 1) การออกแบบการเรียนรู้

นักวิชาการ องค์ประกอบ

การจัดการเรียนรู้เชิงรุก

สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากร ทางการศึกษา (2552) ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (2553) นนทลี พรธาดาวิทย์ (2559) จิรภา อรรถพร (2556) Meyers และ Jones (1993) ความถี่

1. การออกแบบการเรียนรู้ √ √ √ √ √ 5

2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดและ

ปฏิบัติ √ √ √ 3

Garis besar

Dokumen terkait