• Tidak ada hasil yang ditemukan

ความหมายของการนิเทศแบบพี่เลี้ยง

สารบัญภาพประกอบ

1. ความหมายของการนิเทศแบบพี่เลี้ยง

การนิเทศแบบพี่เลี้ยง (Mentoring) มีนักการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ ได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้

สุเดือนเพ็ญ คงคะจันทร์ และคณะ (2550) ให้ความหมายไว้ว่า การนิเทศ แบบพี่เลี้ยง หมายถึง ผู้มีความสามารถหรือเป็นที่ยอมรับหรือผู้บริหารในหน่วยงานให้ค าปรึกษาและ แนะน าช่วยเหลือรุ่นน้องหรือผู้อยู่ในระดับที่ต่ ากว่า เกี่ยวกับเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการท างาน เพื่อให้มีศักยภาพสูงขึ้น

สุจิตรา ธนานันท์ (2551) ให้ความหมายไว้ว่า การนิเทศแบบพี่เลี้ยง หมายถึง แนวทางในการให้ค าแนะน า สอนงาน และอบรมในการสร้างปฏิสัมพันธ์ในการปฏิบัติงาน โดยรุ่นพี่หรือผู้ที่อยู่ในต าแหน่งที่สูงกว่า

อัญชลี ธรรมะวิธีกุล (2552) ให้ความหมายไว้ว่า การนิเทศแบบพี่เลี้ยง หมายถึง พี่เลี้ยงที่เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถเป็นที่ยอมรับ ที่สามารถให้ค าปรึกษาและแนะน า ช่วยเหลือครูให้พัฒนาศักยภาพสูงขึ้น เพื่อสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ พี่เลี้ยงหรือ Mentor จะดูแลครู ดังนั้นครูจะได้รับการดูแลจากพี่เลี้ยง เรียกว่า Mentee บางองค์กรจะเรียกระบบ พี่เลี้ยง หรือ Mentoring System นี้ว่า Buddy System เป็นระบบที่พี่จะต้องดูแลเอาใจใส่น้อง คอยให้ความช่วยเหลือและให้ค าปรึกษาแนะน า เมื่อ Mentee มีปัญหา สถานศึกษาสามารถ ก าหนดให้มีระบบการเป็นพี่เลี้ยงให้กับครูที่เข้ามาท างานใหม่ผู้ เป็น Mentor จะเป็นผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้นิเทศภายใน ครูต้นแบบ หรือบุคลากรทางการศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญในการจัด การศึกษา ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการจัดการศึกษา ทั้งนี้ คุณสมบัติหลักที่ส าคัญที่

บุคคลที่เป็น Mentor ที่ท าหน้าที่พี่เลี้ยงให้แก่ครูใหม่นั้น จะต้องเป็นบุคคลที่มีทัศนคติ หรือความคิด ในเชิงบวก (Positive Thinking) มีความประพฤติดี สามารถปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ Mentee ได้บทบาทและหน้าที่ที่ส าคัญของ Mentor ได้แก่ การถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ต่าง ๆ ในการจัดการศึกษา ให้แก่ครูใหม่ได้รับรู้ รวมถึงจะต้องเป็นผู้ให้ค าปรึกษาและชี้แนะแนวทาง

94 ในการปฏิบัติตนเพื่อปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กร และการตรวจสอบและติดตามผลการให้

ความรู้ ความเข้าใจกับครูใหม่ด้วย

Marlene และ Machenry (2002) ให้ความหมายไว้ว่า การนิเทศแบบพี่

เลี้ยง หมายถึง การเป็นผู้ฝึกสอน (Coach) การเป็นผู้แนะน า (Guides) การเป็นแบบอย่าง (Models) เป็นครู (Teachers) และการเป็นผู้ฝึกสอน (Trainers)

จากความหมายของการนิเทศภายแบบพี่เลี้ยงข้างต้นสรุปได้ว่า การนิเทศ แบบพี่เลี้ยง หมายถึง การใช้ระบบพี่เลี้ยงในการดูแลให้ค าปรึกษาแนะน า (Mentoring) ซึ่งผู้ที่มีความรู้

ความสามารถเป็นที่ยอมรับ (Mentor) ที่สามารถให้ค าปรึกษาและแนะน าช่วยเหลือผู้ที่ต้องการพัฒนา (Mentee) ให้พัฒนาศักยภาพสูงขึ้น เพื่อสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งเป็น ความสัมพันธ์ในการท างานร่วมกันกับบุคคลสองคนหรือมากกว่าในกระบวนการมีการส่งเสริมให้

น าไปสู่ความส าเร็จมากกว่าที่จะด าเนินการไปคนเดียว 2. ความส าคัญของการนิเทศแบบพี่เลี้ยง

สมชาย วงศ์วิเศษ (2548) ได้เสนอความส าคัญ “Mentor” หรือ “พี่เลี้ยง”

ในวงการศึกษาในที่นี้ค าว่า “อาจารย์ที่ปรึกษา” หมายถึงอาจารย์ที่ปรึกษาที่ท าหน้าที่เป็น “พี่เลี้ยง”

ด้วยเนื้อห าในบทความประกอบด้วย “ความหมาย” “ความส าคัญ” “ภารกิจ” และ “ลักษณะ พี่เลี้ยงที่ดี” โดยได้แบ่งภารกิจของพี่เลี้ยงในมหาวิทยาลัยเป็นกลุ่มๆ ตามกลุ่มบุคคลที่พี่เลี้ยงดูแลอยู่

ได้แก่ นักศึกษานักวิจัยหลังปริญญาเอกและอาจารย์ใหม่

วัลลภ สุระกาพลธร (2542) ได้เสนอความส าคัญของพี่เลี้ยงว่าพี่เลี้ยงมี

กิจกรรมที่เกี่ยวกับการเป็นที่ปรึกษาและเป็นพี่เลี้ยง (Mentor) อยู่มากพอสมควรซึ่งกิจกรรมเหล่านี้

มักเกี่ยวกับการเรียนการสอนการวิจัยหรือการฝึกอบรม มีแนวโน้มว่าปัจจุบันมหาวิทยาลัยและ สถาบันวิจัย ต่างจัดให้มีระบบที่มีที่ปรึกษาเป็นพี่เลี้ยงคอยดูแลแนะน าเป็นแบบอย่างและให้ค าปรึกษา ชี้แนะแนวทางไว้คอยช่วยเหลือให้กิจกรรมที่ด าเนินอยู่เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล และประสบ

ความส าเร็จปัจจุบันระบบการเป็นที่ปรึกษา/เป็นพี่เลี้ยงมีอยู่หลากหลาย รูปแบบทั้งที่เป็นโปรแกรม ช่วยเสริมเป็นโปรแกรมที่มีการเรียนการสอนเป็นหลักสูตรโดยเฉพาะหรือเป็นโครงการที่มีไว้เพื่อ ช่วยเหลือให้การเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีโทหรือเอก ตลอดจนเป็นระบบการช่วยเหลือ งานวิจัยให้ประสบความส าเร็จ

Power (1993) การนิเทศแบบพี่เลี้ยงเป็นวิธีการที่นิยมน ามาใช้มากวิธีการ หนึ่งในการส่งเสริมหน้าที่ต่าง ๆ เช่น การให้ความรู้ การเสริมความหมั่นใจ และการสร้างแรงจูงใจ ให้กับบุคคลนั้น โดยวิธีการเป็นตัวต้นแบบ เพื่อพัฒนาความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง ความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเองรวมถึงการเพิ่มพูนทักษะต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างพี่กับน้องเป็นความสัมพันธ์ทางบวก

95 มีการแบ่งปันประสบการณ์รวมกัน โดยพี่เลี้ยง จะเป็นผู้คอยกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่

พัฒนาขึ้นพี่เลี้ยง หรือพี่ช่วยน้อง มีค าส าคัญ 3 ค า ดังนี้

1. Mentoring Technique เป็นวิธีการช่วยเหลืออย่างหนึ่งอยู่ในลักษณะ ของการป้องกันและแก้ไขปัญหา

2. Mentor หรือ พี่เลี้ยง เป็นผู้ที่คอยให้ค าแนะน า ปรึกษา ช่วยเหลือ ปกป้องคุ้มครองสนับสนุนให้ก าลังใจ กระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจ ให้ความรู้และทักษะต่างๆ

3. Mentee น้อง เป็นผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือ ดูแลจากพี่เลี้ยง สรุปได้ว่า ภารกิจหลักของพี่เลี้ยงคือเป็นผู้สอนอบรมให้ความช่วยเหลือชี้แนะในศาสตร์ต่าง ๆ สร้างคนให้มี

ความคิดริเริ่ม มีความเชื่อมั่นในตัวเอง และสามารถท างานได้ด้วยตัวเองอย่างเป็นอิสระ จนประสบ ความส าเร็จ ส าหรับวิธีการด าเนินการนั้น ไม่มีสูตรตายตัวขึ้นกับแต่ละบุคคลแต่หลักการพื้นฐานก็คือ ท าด้วยความจริงใจและเห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้งพี่เลี้ยงที่ดีต้องมีทั้งความรู้คุณธรรมและ จิตวิทยาถึงแม้ว่าค าบรรยายที่ปรากฏทั้งหมดในบทความนี้จ ากัดวงเฉพาะในวงการวิชาการ แต่เนื้อหา สาระสามารถน าไปประยุกต์ใช้กับ “พี่เลี้ยง” และ “การท าหน้าที่ของพี่เลี้ยง” ได้ในทุกวงการ

3. กระบวนการและขั้นตอนการนิเทศแบบพี่เลี้ยง

วัชรา เล่าเรียนดี (2553) ได้เสนอกระบวนการหรือรูปแบบเพิ่มพูนสมรรถนะ การสอนส าหรับครูใหม่ (Mentoring Model) ดังนี้

1. เตรียมความพร้อม (Preparation) ได้แก่ ด้านความรู้ เทคนิคและ ทักษะด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้เป็นต้น

2. ประชุมวางแผนการนิเทศและแผนการจัดการเรียนรู้ (Planning) ได้แก่

ก าหนดปัญหาและประเด็นในการปรับปรุงและพัฒนา และจัดท าแผนการนิเทศและแผนการจัด การเรียนรู้เป็นต้น

3. ประชุมก่อนการสังเกต (Pre-Observation Conference) ได้แก่

การทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้ ก าหนดประเด็นการสังเกตและบันทึก และเลือกเครื่องมือ สังเกตการณ์สอน

4. สังเกตการสอนในชั้นเรียน (Observation) ได้แก่ สังเกตบันทึก พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ และสังเกตบันทึกพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเป็นต้น

5. ประชุมเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับ (Post- Observation Conference) ได้แก่ ทบทวนข้อมูลสังเกตการสอน อภิปราย วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน ผู้นิเทศให้ข้อเสนอแนะ และทบทวนแผนการปฏิบัติครั้งต่อไป

Marlene และ Machenry (2002) ได้ก าหนดขั้นตอนและกระบวนการให้

ค าปรึกษาแนะน าแบบพี่เลี้ยง ได้แก่ 1) ประชุมก่อนการให้ค าปรึกษา (Preponderance) 2) สังเกต

96 การสอนในชั้นเรียนและเก็บข้อมูล (Observation and Data Gathering) 3) การร่วมกันวิเคราะห์

และการสะท้อนความคิดและการปฏิบัติ (Collaborative Reflection and Analysis) 4) ประชุม หลังการดูแลให้ค าปรึกษาแนะน า (Post conference)

Young และคณะ (1950) ได้เสนอกระบวนการของกระบวนการใช้ระบบ พี่เลี้ยงในการดูแลให้ค าปรึกษาแนะน า (Mentoring) คือ 1) ขั้นการเตรียมความพร้อม (Preparation Stage) 2) ขั้นการเจรจาให้ค าแนะน า (Negotiating Stage) 3) ขั้นการแสดงความสามารถ/ขั้นปฏิบัติ

(Enabling Stage) 4) ขั้นของการปิดการเจรจา (Closure Stage)

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

1. แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีผู้ให้อธิบายหลักการ แนวคิดของการวิจัย เชิงปฏิบัติการ ไว้ดังนี้

วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ (2553) การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีจุดก าเนิดมาจากการ แสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาสังคมของ Kurt Lewin นักจิตวิทยาสังคมชาวอเมริกาที่ต้องการจะศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และเพื่อปรับปรุงคุณภาพของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์โดยอาศัย แนวความคิดส าคัญ 2 ประการคือ การรวมกันตัดสินใจของกลุ่ม และความตั้งใจที่จะท าการปรับปรุง ในส่วนของวงการศึกษานั้นอาจกล่าวได้ว่า Stephen M. Corey จากมหาวิทยาลัย Columbia สหรัฐอเมริกา เป็นผู้น าการวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้กับการจัดการการศึกษาเป็นบุคคลแรก ในลักษณะของการปรับปรุงหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

ค.ศ. 1967–1972 Lawrence Stenhouse แห่งมหาวิทยาลัย East Anglia ซึ่งเป็นผู้อ านวยการโครงการ Humanities Curriculum Project ได้กระตุ้นให้ครูผู้สอนน าวิธีการวิจัย เชิงปฏิบัติการมาใช้กับการจัดการศึกษามุ่งเปลี่ยนสภาพของครูจากการเป็นผู้สอนตามปกติให้เป็นครู

ในฐานะนักวิจัย

ค.ศ. 1973 -1975 John Elliott & Clem Adelman ได้น าวิธีการวิจัยเชิง ปฏิบัติการมาใช้ในโครงการ Ford Teaching Project โดยให้ครูได้พัฒนาการจัดการเรียนการสอน ในชั้นเรียนแล้วน าผลการปฏิบัติงานมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับคนอื่น ๆ โดยใช้วิธีการติดตามผล การกระท าที่เกิดจากช่องว่างระหว่างความคาดหวังกับการปฏิบัติงานจริงของครู ส าหรับเป็นแนวทาง ช่วยเหลือครูให้ได้ท าการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และสืบสวนสอบสวนในชั้น เรียน และเน้นการปฏิบัติงานด้วยการควบคุมตนเองหรือด้วยกลุ่มมากกว่าการใช้ผู้ควบคุมคุณภาพ ที่มาจากภายนอก

Garis besar

Dokumen terkait