• Tidak ada hasil yang ditemukan

ในการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยใชคอมพิวเตอรชวยในการจัดกระทําขอมูล โดยโปรแกรม SPSS for Windows และ LISREL เพื่อหาคาสถิติตาง ๆ ดังนี้

1. สถิติบรรยาย

1.1 การแจกแจงความถี่และคารอยละ สําหรับการวิเคราะหขอมูลพื้นฐานของผูตอบ แบบสอบถามที่เปนกลุมตัวอยาง

1.2 การวิเคราะหหาคาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สําหรับการวิเคราะห

องคประกอบ

2. สถิติอางอิง

2.1 การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) เพื่อศึกษา วา องคประกอบที่สงผลตอประสิทธิผลการทํายุทธศาสตรที่ตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญเปนจริงตามขอมูล เชิงประจักษ

2.2 การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson’s product moment coefficient) และทดสอบความมีนัยสําคัญดวยสถิติทดสอบที เพื่อศึกษาความสัมพันธภายใน ระหวางองคประกอบที่สงผลตอประสิทธิผลการนํายุทธศาสตรสูการปฏิบัติ

2.3 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) มีสถิติที่

เกี่ยวของ เชน สัมประสิทธิ์ความแปรผันพหุคูณ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ สัมประสิทธิ์ความแปรผัน พหุคูณกับสัมประสิทธิ์ถดถอยบางสวน และทดสอบกรณีมีนัยสําคัญดวยสถิติทดสอบเอฟ

2.4 การวิเคราะหเสนทางอิทธิพล (Path analysis) แสดงความสัมพันธของตัวแปรที่

ศึกษา ทดสอบความมีนัยสําคัญดวยสถิติทดสอบเอฟหรือที เพื่อศึกษาโครงสรางความสัมพันธเชิงเหตุผล 2.4.1 การทดสอบตัวแบบการวิจัยเปนการตรวจสอบความสัมพันธโครงสรางเชิง เสน โดยใชโปรแกรมลิสเรล 8.30 (LISREL version 8.30) ในการวิเคราะหและตรวจสอบ มีขั้นตอนดังนี้

(นงลักษณ วิรัชชัย. 2542)

2.4.1.1 การกําหนดขอมูลจําเพาะตัวแบบ (Specification of the model) ผูวิจัยไดสนใจศึกษาวา ตัวแปรสาเหตุตัวใดบางที่สงผลโดยตรงและโดยออม โดยผูวิจัยไดใชรูปแบบการ วิเคราะหตัวแบบความสัมพันธโครงสรางเชิงเสน ประกอบไปดวยตัวแปรสังเกตทั้งหมด โดยมีขอตกลง

105

เบื้องตนของตัวแบบวา ความสัมพันธของตัวแบบทั้งหมด เปนความสัมพันธเชิงเสนตรง (Linear) เปน ความสัมพันธเชิงบวก (Additive) และเปนความสัมพันธทางเดียว (Recursive model) ระหวางตัวแปร ภายนอก (Exogenous variables) และตัวแปรภายใน (Endogenous variables)

2.4.1.2 การระบุความเปนไปไดคาเดียวของแบบตัวแบบ (Identification of the model) ผูวิจัยใชเงื่อนไขกฎที (t-rule) นั่นคือ จํานวนพารามิเตอรที่ไมทราบคาจะตองนอยกวา หรือเทากับจํานวนสมาชิกในเมทริกซความแปรปรวน – ความแปรปรวนรวมของกลุมตัวอยาง ตรวจสอบ โดยจะใหจํานวนพารามิเตอรที่ตองการประมาณคา (t) และจํานวนตัวแปรสังเกตได (NI) ซึ่งนํามา คํานวณหาจํานวนสมาชิกในเมทริกซความแปรปรวนรวมได กฎที กลาววาแบบจําลองจะระบุคาไดพอดี

เมื่อ t ≤ (1/2) (NI) (NI+1) และใชกฎความสัมพันธทางเดียว (recursive rule) (Bollen. 1989) 2.4.1.3 การประมาณคาพารามิเตอรของตัวแบบ (Parameter estimation form the model) ผูวิจัยใชการประมาณคาโดยใชวิธี ML (Maximum likelihood) ซึ่งเปนวิธีที่

แพรหลายที่สุด เนื่องจากมีความคงเสนคงวา (Consistency) มีประสิทธิภาพและเปนอิสระจากมาตรวัด 2.4.2 การตรวจสอบความสอดคลองของตัวแบบ (Goodness-of fit measures) เพื่อศึกษาภาพรวมของตัวแบบวาสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษเพียงใด ผูวิจัยใชคาสถิติที่จะตรวจสอบ ดังนี้

2.4.2.1 คาสถิติไค-สแควร (chi-square statistics) เปนคาสถิติที่ใชทดสอบ สมมติฐานทางสถิติวาฟงกชั่นความสอดคลองมีคาเปนศูนย ถาคาสถิติไค-สแควร มีคาต่ํามาก หรือยิ่งเขา ใกลศูนยมากเทาไรแสดงวาขอมูลโมเดลลิสเรลมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ

2.4.2.2 ดัชนีวัดระดับความสอดคลอง (goodness-of-fit index : GFI) ซึ่ง เปนอัตราสวนของผลตางระหวางฟงกชั่นความสอดคลองจากตัวแบบกอน และหลังปรับตัวแบบกับ ฟงกชั่น ความสอดคลองกอนปรับตัวแบบ คา GFI หากมีคามากกวา 0.90 แสดงวาโมเดลมีความ สอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ

2.4.2.3 ใชดัชนีวัดความสอดคลองที่ปรับแลว (Adjusted goodness-of-fit index : AGFI) ซึ่งนํา GFI มาปรับแกและคํานึงขนาดของตัวแปรและกลุมตัวอยาง คานี้ใชเชนเดียวกับ GFI คา GFI และ AGFI ที่เขาใกล 1 แสดงวาตัวแบบมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ

2.4.2.4 ค า RMSEA (Root mean square error of approximation) เปนคาที่บงบอกถึงความไมสอดคลองของตัวแบบที่สรางขึ้นกับเมทริกซความแปรปรวนรวมของ ประชากร ซึ่ง Browne & Cudeck (1993) ไดอธิบายวา คา RMSEA ที่นอยกวา .05 แสดงวามีความ สอดคลองสนิท (Close fit) แตอยางไรก็ตาม คาที่ใชไดและถือวาตัวแบบที่สรางขึ้นสอดคลองกับตัวแบบ ไมควรจะเกิน .08

106

2.4.2.5 คาขนาดตัวอยางวิกฤติ (Critrical N : CN) ซึ่งเปนคาขนาดของ ตัวอยางที่ใชคาไค-สแควรทดสอบขอมูล คา CN ที่สูงกวาหรือเทากับ 200 ของกลุมตัวอยาง จะมี

แนวโนมที่คาไค-สแควรที่ไมมีนัยสําคัญ นั่นคือขอมูลตัวแบบที่สรางขึ้นสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ

(Bollen. 1989)

2.4.2.6 คาสูงสุดของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (Largest standardized residual) ระหวางเมทริกซสหสัมพันธที่เขาสูการวิเคราะหกับเมทริกซที่ประมาณได โดย คาเศษเหลือเคลื่อนที่เขาใกล 0 จะถือวาตัวแบบมีแนวโนมสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ ความพอดี

เศษเหลือเหมาะสมอยูระหวาง -2 ถึง 2 (Bollen. 1989)

ดังนั้น ผูวิจัยจึงใชเกณฑในการตรวจสอบความสอดคลองระหวางตัวแบบที่

ผูวิจัยพัฒนาขึ้นกับขอมูลเชิงประจักษ สรุปไดตามตาราง

ตารางที่ 2 สรุปเกณฑที่ใชในการตรวจสอบความสอดคลอง

ดัชนี ระดับการยอมรับ

1. คาไค-สแควร (χ2) 2. คา GFI

3. คา AGFI 4. คา RMSEA 5. คา CN

χ2 ที่ไมมีนัยสําคัญหรือคา P-value สูงกวา .05 แสดงวาตัวแบบมี

ความสอดคลอง

มีคาตั้งแต .90 ขึ้นไป แสดงวาตัวแบบมีความสอดคลอง

มีคาตั้งแต .90 ขึ้นไป แสดงวาตัวแบบมีความสอดคลอง

นอยกวา .08 แสดงวาตัวแบบมีความสอดคลอง

≥ 200 แสดงวาตัวแบบมีความสอดคลอง

2.4.3 การปรับตัวแบบ (Model adjustment)

ผูวิจัยปรับตัวแบบบนพื้นฐานของทฤษฎีและงานวิจัยเปนหลัก โดยมีการ ดําเนินการคือ จะตรวจสอบผลการประมาณคาพารามิเตอร วามีความสมเหตุสมผลหรือไมและมีคาใด แปลกเกินความเปนจริงหรือไม รวมทั้งพิจารณาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ เชิงพหุยกกําลังสอง (Squared multiple correlation) ใหมีความเหมาะสม รวมทั้งพิจารณาคาความสอดคลองรวม (Overall fit) ของตัวแบบวาโดยภาพรวมแลวตัวแบบสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษเพียงใด และจะ หยุดปรับตัวแบบเมื่อพบวา คาสูงสุดของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐานต่ํากวา 2.00 (นงลักษณ

วิรัชชัย. 2542)

107