• Tidak ada hasil yang ditemukan

การออกแบบกิจกรรมของแผนงานเปนมาตรฐาน จะชวยใหประชาชนเอาใจใส

การนํานโยบายไปปฏิบัติ

4. กรอบแนวคิดกระบวนการนโยบาย-แผนงาน-การปฏิบัติ ของอเลกซานเดอร

2.3 การออกแบบกิจกรรมของแผนงานเปนมาตรฐาน จะชวยใหประชาชนเอาใจใส

ตอนโยบายที่นําไปปฏิบัติ ดูแลการปฏิบัติงาน การใชจายเงินของเจาหนาที่ การออกแบบแนวปฏิบัติให

สอดคลองกับสถานการณ สภาพแวดลอม และวิถีชีวิตของประชาชนในทองถิ่น ควรสงเสริมใหภูมิภาค และทองถิ่นระดมทรัพยากรมาสนับสนุนนโยบายที่นําไปปฏิบัติ และสามารถปรับกลยุทธการปฏิบัติ

นโยบายใหเหมาะสม การกําหนดภารกิจและการมอบหมายงานชัดเจนจะสงผลใหมีการกําหนดความ

54

รับผิดชอบงานแตละฝายใหสัมพันธกัน เปนแนวทางที่จะประสานการทํางานทุกฝายใหเปนไปในทิศทาง เดียวกัน จะอํานวยประโยชนและประกันผลสําเร็จของนโยบาย

3. ชุดตัวแปรสสมรรถนะขององคการที่นํานโยบายไปปฏิบัติ ประกอบดวย 1) การมี

รูปแบบโครงสรางองคกรที่นํานโยบายไปปฏิบัติ ตั้งแตระดับชาติถึงระดับลางสุดอยางเหมาะสม 2) ความ เปนเอกภาพของการจัดโครงสรางองคการที่นํานโยบายไปปฏิบัติ 3) เจตคติของผูบริหารและขาราชการ ที่นํานโยบายไปปฏิบัติตอวัตถุประสงคนโยบาย 4) ความเพียงพอของทรัพยากรและเสริมแรงในการ สนับสนุนแผนงาน 5) ระดับความคลองตัวของการไหลเวียนขอมูลขาวสารภายในหนวยงาน 6) ความสามารถของผูนําในหนวยงาน 7) ศักยภาพและความผูกพันของทีมงานตอกิจกรรมที่ปฏิบัติ 8) ความเขมขนของความรูสึกรับผิดของผูปฏิบัติตอโครงการ 9) การไดรับประโยชนของหนวยงานจาก แผนงาน 10) ผลของโครงการตกเปนประโยชนโดยตรงตอประชาชนที่เขารวมโครงการ ซึ่งตัวแปรชุดนี้มี

อิทธิพลตอผลผลิตขององคการ ดังนี้

3.1 โครงสรางองคการจะทําใหมองเห็นวาทุก ๆ สวนอยูภายใตระบบการนําสง นโยบายไปยังกลุมเปาหมายที่สอดประสานกัน เนื่องจากโครงสรางองคการคือ ปทัสถาน (Nom) ของ หนวยงาน

3.2 เครือขายการสื่อความหมายตามลําดับขั้นของการควบคุมบังคับบัญชาแบบแผน ของความเปนผูนําในองคกร การแสดงเจตจํานงที่จะสนับสนุนหรือเปนอุปสรรค หรือแมแตการวางเฉย ตอองคการในการนํานโยบายไปปฏิบัติ

3.3 ลักษณะโครงสรางการบริหารของผูปฏิบัติงาน เปนปจจัยสําคัญที่แสดงศักยภาพ ในการจัดทําแผนการปฏิบัติงาน การประสานงาน การบริหาร การตัดสินใจ การติดตามและประเมินผล งาน

3.4 เจตคติและพฤติกรรมของขาราชการที่นํานโยบายไปปฏิบัติ หากนโยบายใดเปน นโยบายที่ขาราชการมีความรูสึกชอบ เปาหมายของนโยบายจะไดรับการตีความออกมาเปนแนวปฏิบัติ

ไดอยางถูกตอง

3.5 ความเพียงพอของทรัพยากร จะชวยใหองคกรนํานโยบายไปปฏิบัติมีความพรอม และสามารถจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนกิจกรรมไดเพียงพอ

4. ชุดตัวแปรการสนับสนุนจากสวนกลางและทองถิ่น ประกอบดวย 1) การสนับสนุน ทางดานการเมืองจากผูมีอํานาจ กลุมพลัง และองคกรที่ใชอํานาจ หรือใชทรัพยากรผลักดันกระบวนการ นํานโยบายไปปฏิบัติ 2) การสนับสนุนทางดานวิชาการ ความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีจากสวนกลางและ ทองถิ่น 3) การสนับสนุนจากประชาชนในพื้นที่เปาหมาย ดานการใชทักษะเทคนิคและความสามารถเชิง การจัดการขององคกรและบุคคลในทองถิ่น ซึ่งตัวแปรชุดนี้มีอิทธิพลตอผลผลิตขององคกรที่นํานโยบาย ไปปฏิบัติ ดังนี้

55

4.1 การสนับสนุนจากสวนกลาง โดยเฉพาะการสนับสนุนจากกลุมพลังและองคกร ตาง ๆ นักวิชาการและบุคคลผูมีอํานาจทางการเมือง เพราะพลังอํานาจจากสวนกลางคือจักรกลหลักทั้ง ในการออกกฎขอบังคับ กํากับ ควบคุม สนับสนุนงบประมาณ วิชาการและอื่น ๆ เพื่อใหองคกรและ บุคคลที่รับผิดชอบ ไดปฏิบัติใหเปนไปตามมาตรฐานนโยบาย

4.2 นโยบายที่ไดรับการสนับสนุนจากสาธารณะ มีอิทธิพลเนื่องจากความเห็น สาธารณะที่ผานทางสื่อมวลชนจะสงผลกระทบอยางสําคัญตอกระบวนการทางการเมือง กระบวนการ ทางกฎหมายและอื่น ๆ ความเห็นนักกฎหมายจะมีอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงแกไขระเบียบ กฎเกณฑ

ความเห็นของประชาชนจะมีผลใหขาราชการเห็นคลอยตาม หรือปฏิเสธวัตถุประสงคนโยบายได

4.3 การสนับสนุนจากประชาชน ผูนําชุมชน และกลุมผลประโยชนในทองถิ่น มี

ความสําคัญตอกระบวนการตัดสินใจของขาราชการในการนํานโยบายไปปฏิบัติ

5. ชุดตัวแปรมาตรการกํากับ ตรวจสอบ ประเมินผล และการกระตุนเสริมแรง ประกอบดวย 1) การมีมาตรการควบคุม ดูแลและประเมินผลการปฏิบัติงาน 2) การมีมาตรการกระตุน เสริมแรงและใหกําลังใจผูปฏิบัติงาน 3) การปรับเปลี่ยนแนวปฏิบัติ เพื่อสนองเปาหมายและวัตถุประสงค

ของนโยบาย 4) การใหคําแนะนําปรึกษาและการควบคุมการดําเนินกิจกรรม ซึ่งตัวแปรชุดนี้มี

ความสําคัญ ดังนี้

5.1 ชวยใหหนวยงานหรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายทํางานมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก จุดประสงคงานบริการของรัฐไมถูกบิดเบือน

5.2 มาตรการควบคุมที่ใชกลยุทธกลไกตลาด เพื่อสรางพลังจูงใจใหบุคคลปรับ พฤติกรรม โดยการใหรางวัลแกการทําดีมากกวาการกําหนดโทษหรือการบังคับ

5.3 ผูกําหนดนโยบาย ผูบริหารนโยบาย และประชาชน การกํากับตรวจสอบและ การประเมินผลจะทําใหทราบประสิทธิผลของนโยบาย

6. ชุดตัวแปรผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ประกอบดวยรายละเอียดดังตอไปนี้

6.1 ระดับการบรรลุวัตถุประสงค หรือเปาหมายนโยบาย

6.2 การนําไปใชประโยชนหรือการไดรับประโยชนของกลุมเปาหมายหรือประชาชน โดยสวนรวม

6.3 ความคงอยูหรือความตอเนื่องของกิจกรรม 6.4 การนําวิธีการไปใชไดในที่อื่นหรือในโอกาสอื่น

จากการศึกษาความสัมพันธของตัวแปรสาเหตุ 5 ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอผลของการนํา นโยบายไปปฏิบัติ กลา ทองขาว (2533) พบวา ตัวแปรดานความชัดเจนในเปาหมายและวัตถุประสงค

ของนโยบาย เปนตัวแปรที่สงผลทั้งทางตรงและทางออมตอผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติ คลายกับตัว แปรดานการกําหนดภารกิจและการมอบหมายงาน และตัวแปรการสนับสนุนจากสวนกลางและทองถิ่น

56

และความผูกพัน สวนตัวแปรสมรรถนะขององคกรที่นํานโยบายไปปฏิบัติ และตัวแปรมาตรการกํากับ ตรวจสอบ ประเมินผลและการกระตุนเสริมแรง มีอิทธิพลตอผลของการนําโยบายไปปฏิบัติโดยตรง และ เมื่อทดสอบเชิงประจักษพบวา ลักษณะความสัมพันธของตัวแปรตาง ๆ มีความสอดคลองกับตัวแบบ สมมติฐาน

นอกจากนั้นการศึกษาของ สมภพ ศรีเพ็ญ (2538) ที่เปนกรณีศึกษาแผนงานพัฒนาเยาวชน ในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ พบวา ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการนํานโยบายไปปฏิบัติรายดาน 1) ดานการ บริหารงานมี 5 ปจจัย ไดแก ความชัดเจนของนโยบาย ทัศนคติของเจาหนาที่ ลักษณะหนวยงานที่นํา นโยบายไปปฏิบัติ สภาพแวดลอมทางการเมือง และการมีสวนรวมของเยาวชน 2) ดานการดําเนินงาน

เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค มี 3 ปจจัย ไดแก ลักษณะของหนวยงานที่นํานโยบายไปปฏิบัติ

การประสานงานและการมีสวนรวมของเยาวชน การศึกษาของ รุงเรือง สุขาภิรมย (2543) ที่ศึกษาการ นํานโยบายการขยายการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใชปจจัยพยากรณ 15 ตัวแปร 5 กลุม ประกอบดวย ตัวแปรภายนอก ไดแก กลุมสภาพแวดลอมของโรงเรียน กลุมการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนา การศึกษา และกลุมคุณลักษณะของนโยบาย ตัวแปรภายใน ไดแก กลุมทรัพยากร และกลุมการจัดการ พบวา ปจจัยที่อธิบายผลของการนํานโยบายการขยายการศึกษาขั้นพื้นฐานถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตน ไปปฏิบัติเชิงบวกดานปริมาณมี 5 ตัวแปร คือ กลุมปจจัยที่เปนตัวแปรภายในสถานศึกษา ไดแก

ทรัพยากร (1) คุณภาพของบุคลากร (2) ความเพียงพอของบุคลากรครู กลุมปจจัยที่เปนตัวแปรภายนอก สถานศึกษา ไดแก คุณลักษณะของนโยบาย (3) ความชัดเจนเกี่ยวกับเปาหมายการรับนักเรียน ความ รวมมือของชุมชน (4) การมีสวนรวมของพอแมผูปกครอง และ (5) การมีสวนรวมขององคกรปกครอง สวนทองถิ่น สวนการอธิบายผลเชิงบวกดานคุณภาพ มีเพียงปจจัยเดียวที่อธิบายได คือ ปจจัยดานความ เพียงพอของอาคารสถานที่ โดยเฉพาะการมีหองปฏิบัติการ ซึ่งเปนตัวแปรในกลุมทรัพยากร

การศึกษากระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติยังคงมีแพรหลาย ในหลายลักษณะขึ้นอยูกับ วัตถุประสงคและการนําไปใชประโยชน โดยตางศึกษาความสัมพันธของกระบวนการกับผลที่เกิดขึ้น