• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

วัตถุประสงค์การวิจัย การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูลและ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของ

สื่อการเรียน รู้ด้วยต น เองผ่าน เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมที่

ส่งเสริมมโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์

1) สื่ อ ก ารเรีย น รู้ด้ว ย ต น เอ งผ่ า น เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม ที่ส่งเสริม มโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์ โดยผลการ พิจารณาในแต่ละองค์ประกอบมีค่า IOC ตั้งแต่ระดับ 0.67-1.00

- พัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่าน เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมตามหลัก แนวคิด ADDIE

- หาค่าประสิทธิภาพ (Efficiency) ของสื่อ การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีความ เป็นจริงเสริม ตามสูตร E1 / E2 เพื่อหา ประสิทธิภาพของกระบวนการแล ะ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ จากการใช้สื่อ การเรียนรู้ดังกล่าว (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2556, น. 5-20)

เพื่อศึกษาผลการพัฒนามโนทัศน์

ทางภูมิศาสตร์ของนักเรียน จากการ ใช้สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่าน เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยการน าสื่อ การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยี

ความเป็นจริงเสริมเข้ามามีบทบาทใน กิจกรรมการเรียนการสอน โดยผลการ พิจารณาในแต่ละองค์ประกอบมีค่า IOC ตั้งแต่ระดับ 0.67 – 1.00

2) แบ บ ท ด ส อบ วัด ม โน ทัศ น์ท าง ภูมิศาสตร์ โดยมีรายละเอียดดังนี้

- คั ด เลื อ ก ข้อ ค า ถ า ม ที่ มี ค่ า IOC มากกว่า 0.5

- ค่าความยากง่าย (Difficulty) คัดเลือก ข้อค าถามที่มีค่าอยู่ระหว่าง 0.20-0.80 - ค่าอ านาจจ าแนก(Discrimination) คัดเลือกข้อค าถามที่มีค่าตั้งแต่ 0.20 ขึ้น ไป (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ, 2543, น. 185)

- ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้

สูตร KR-20 ของคูเด อร์ ริชาร์ดสัน (Kuder Richardson, 1993) อ้างถึงใน มาเรียม นิลพันธุ์ (2558, น. 182) ซึ่ง แบบทดสอบคู่ขนานก่อนเรียนและหลัง เรียนทั้ง 2 ฉบับ มีค่าความเชื่อมั่น 0.76 และ 0.85 ตามล าดับ

เปรียบเทียบผลการพัฒนามโนทัศน์ทาง ภูมิศาสตร์ของนักเรียน ก่อนและหลังจาก การใช้สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่าน เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม โดยใช้ค่า (X̅), S.D. และ t-test independent ซึ่งมี

รายละเอียดดังนี้

- ค่าเฉลี่ย (X̅) บ่งชี้ถึงค่าเฉลี่ยของกลุ่ม ตัวอย่าง

- ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) บ่งชี้ถึงคุณภาพและ ความเหมาะสมของข้อมูลค่าเฉลี่ย - ค่า t - test independent บ่งชี้ถึงความ แตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 ค่า

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

งานวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เพื่อ ส่งเสริมมโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นลักษณะของการ วิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ที่ได้ประยุกต์ใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One - Group Pretest - Posttest Design) สามารถสรุปผล การวิเคราะห์ข้อมูลได้ 2 ตอน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ตอนที่ 1 เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยี

ความเป็นจริงเสริม ที่ส่งเสริมมโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์

ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาผลการพัฒนามโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์ของนักเรียน จากการใช้สื่อ การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

โดยได้ก าหนดสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการน าเสนอและแปลความหมายการวิเคราะห์

ข้อมูล ดังนี้

n แทน ขนาดกลุ่มตัวอย่าง

X̅ แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

t แทน ค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน

E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการจากการประยุกต์ใช้สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมในการจัดการเรียนรู้

E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์จากการประยุกต์ใช้สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่าน เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมในการจัดการเรียนรู้

* แทน มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตอนที่ 1 ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยี

ความเป็นจริงเสริม ที่ส่งเสริมมโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม ได้พัฒนาขึ้นตามหลักการ ออกแบบสื่อการเรียนการสอน ด้วยแนวคิด ADDIE ซึ่งเป็นกระบวนการที่มีระบบแบบแผนชัดเจน โดยได้ออกแบบสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมเป็น 4 บทเรียน ซึ่ง ครอบคลุมเนื้อหาสาระภูมิศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย โดยมี

รายละเอียดดังปรากฏในภาพที่ 16

ภาพประกอบ 16 บทเรียนภูมิศาสตร์ของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม

โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามหลักการออกแบบสื่อการเรียนการสอน ด้วยแนวคิด ADDIE สะท้อนให้เห็นว่า สื่อการเรียนรู้ดังกล่าวกระตุ้นความสนใจให้เกิดการใฝ่รู้ในเรื่องที่เรียน รวมถึงส่งเสริมและกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี เนื่องจากมีประเด็นค าถาม

สอดแทรกในทุกช่วงของการเรียนรู้ นอกจากนี้พบว่า เนื้อหาที่น ามาประกอบสร้างสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ และมีรูปแบบที่หลากหลายในการน าเสนอเนื้อหาของบทเรียน ซึ่งสามารถ น ามาใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนได้ทั้งแบบ On-site/Online ด้วยรูปแบบของสื่อมีความ สะดวกและทันสมัย เหมาะส าหรับใช้ศึกษาเรียนรู้และทบทวนเนื้อหาได้ด้วยตนเอง อีกทั้งสามารถ เข้าถึงบทเรียนได้ โดยไร้ข้อจ ากัดในเรื่องของสถานที่และเวลา

จากผลการพิจารณาข้างต้น บ่งชี้ว่าสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีความเป็น จริงเสริม สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ทาง ภูมิศาสตร์ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี โดยได้น าไปทดลองใช้กับนักเรียนรายบุคคล (Individual Tryout) และกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout) รวมถึงในรูปแบบภาคสนาม (Field Tryout) เพื่อหา ประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม ซึ่งแสดงผลการ วิเคราะห์ข้อมูลดังรายละเอียดต่อไปนี้

ตาราง 10 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่าน