• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสังเคราะห์องค์ประกอบการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่

องค์ประกอบการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่

นักวิชาการ

Khait and others (2020) UNESCO (2020) Cottle (2021) กาญจนา บุญภักดิ์ (2563) จักรกฤษณ์ โพดาพล (2563) เทื้อน ทองแก้ว (2563) พัชราภรณ์ ดวงชื่น (2563) ไพศาล สุวรรณน้อย (2563) วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2563) มารุต พัฒผล และคณะ (2564) ความถี่

1. ผู้เรียนกับผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน √ √ √ √ √ 5

2. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้อง

กับความต้องการของผู้เรียน √ √ √ √ √ √ √ 7

3. สร้างสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย √ √ √ √ √ √ √ 7 4. ออกแบบการประเมินผลที่หลากหลาย √ √ √ √ √ √ √ 7 5. พัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ √ √ √ √ √ √ √ √ 8

6. สร้างหลักสูตรดิจิตอล √ √ √ √ √ 5

7. ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี √ √ √ √ √ 5

8. ช่วยเหลือผู้เรียนที่ขาดความพร้อมด้าน

การจัดการเรียนรู้ √ √ √ √ √ √ √ 7

9. ค านึงถึงสุขภาพควบคู่กับการเรียนรู้ √ √ √ √ 4 10. ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ

ผสมผสาน √ √ √ √ √ 5

11. สร้างเสริมการเรียนรู้ตลอดเวลา

เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง √ √ √ √ √ √ 6 12. วิเคราะห์ปัญหาพื้นฐานในการจัดการ

เรียนรู้ √ √ √ √ √ √ 6

13. ใช้รูปแบบการสอน ADDIE MODEL √ √ 2

88 ตาราง 1 (ต่อ)

องค์ประกอบการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่

นักวิชาการ

Khait and others (2020) UNESCO (2020) Cottle (2021) กาญจนา บุญภักดิ์ (2563) จักรกฤษณ์ โพดาพล (2563) เทื้อน ทองแก้ว (2563) พัชราภรณ์ ดวงชื่น (2563) ไพศาล สุวรรณน้อย (2563) วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2563) มารุต พัฒผล และคณะ (2564) ความถี่

14. ผู้บริหารและครูต้องปรับตัวและพัฒนา

อยู่เสมอ √ √ 2

15. สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุน

การเรียนรู้ √ √ √ 3

16. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและรับฟังเสียง

สะท้อนระหว่างชุมชนกับสถานศึกษา √ √ √ 3

17. สร้างฐานข้อมูลทางการศึกษาที่

เชื่อมโยงกัน √ √ √ 3

จากการสังเคราะห์วิธีการเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ผู้วิจัยจึงได้น าเสนอ

โดยพิจารณาจากเกณฑ์ขอบข่ายที่มีความถี่สูง 5 ล าดับแรก สรุปได้ว่ามีอยู่ 5 วิธี คือ 1) พัฒนาระบบ การเรียนการสอนออนไลน์ 2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 3) สร้างสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4) ออกแบบการประเมินผลที่หลากหลาย 5) ช่วยเหลือผู้เรียนที่

ขาดความพร้อมด้านการจัดการเรียนรู้

1. การพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ มีนักวิชาการได้กล่าวถึง ดังนี้

Khait และคณะ (2020) กล่าวว่า การศึกษาทางออนไลน์โดยใช้แพลตฟอร์มออนไลน์

e-learning และ ICTs ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วโดยไม่ได้วางแผน น ามาซึ่งโอกาสมากมาย ทางการศึกษา ก่อให้เกิดความท้าทายเกี่ยวกับความเร่งรีบในการศึกษาออนไลน์และการศึกษาทางไกล

UNESCO (2020) กล่าวไว้ว่า การแพร่ระบาดของโรคได้บังคับให้เปลี่ยนจากการ เรียนการสอนในรูปแบบเดิม การโต้ตอบหรือปฏิสัมพันธ์เป็นปัญหาส าคัญส าหรับเด็กที่ยากจนทั่วโลก

89 ซึ่งมักอาศัยโรงเรียนเพื่อให้การศึกษาและการไม่ได้เตรียมตัวไว้เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ไปสู่ระบบ ดิจิทัลและการเรียนทางไกล

กาญจนา บุญภักดิ์ (2563) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้ในยุค New normal นั้น ควรจัดให้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนได้รับประโยชน์อย่างจริงจัง จะเห็นได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น

ประการแรกคือ เรื่องสถานที่ชัดเจนที่สุด จากการที่ผู้เรียนเคยต้องเดินทางไปศึกษาเล่าเรียนที่โรงเรียน ก็กลับมาเป็นจัดการเรียนการสอน Online โดยนั่งเรียนที่บ้านได้ ไม่ต้องเดินทาง ท าให้เราสามารถ เรียนรู้ทุกเนื้อหาได้จากทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา และไม่ได้ท าให้การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ลดลง ยังคงเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ได้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถโต้ตอบกันได้อย่างเต็มที่เหมือนเดิม เพียงแต่เปลี่ยนสถานที่จากโรงเรียน มาเป็นที่บ้าน ในรถ หรือสถานที่ต่าง ๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ เท่านั้น

จักรกฤษณ์ โพดาพล (2563) กล่าวว่า ในการเรียนการสอนออนไลน์จ าเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องมีการท าความเข้าใจถึงรายละเอียดการเรียนการสอนในแต่ละครั้งที่เข้าเรียน โดยผู้สอนจะต้อง ก าหนดกรอบเวลาการเรียนการสอนไว้อย่างชัดเจน ดังนี้

1. ก าหนดกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละครั้งให้ชัดเจนว่ามีอะไรบ้าง เช่น ในการบรรยาย 1 ครั้ง ใช้เวลา 3 ชั่วโมง อาจมีกิจกรรม ทักทาย เช็คชื่อ บรรยาย แบ่งกลุ่มท างาน น าเสนอ อภิปราย สรุป ท าแบบทดสอบ เป็นต้น

2. ก าหนดสื่อการเรียนการสอนในแต่ละกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น

การบรรยาย ผู้สอนอาจไม่จ าเป็นต้องเป็นการใช้บรรยายแบบออนไลน์ แต่ใช้การบรรยายอัดเป็นวิดีโอ ไว้ส าหรับให้ผู้เรียนได้เปิดดูได้ตลอด

3. ก าหนดระยะเวลาของแต่ละกิจกรรมการเรียนการสอนว่าใช้เวลาเท่าไหร่

ในแต่ละกิจกรรมจะต้องแบ่งเวลาให้เหมาะสม และเป็นไปได้ในการเรียนการสอน เพราะการ

ก าหนดเวลาต้องชัดเจนเพื่อไม่ให้กินเวลาของรายวิชาอื่น ๆ ดังนั้นในกิจกรรมต่าง ๆ จะต้องด าเนินการ ไม่เกินเวลาของการบรรยายรวม

4. ก าหนดว่ากิจกรรมการเรียนการสอนใดข้างที่จะควรจะเป็นการออนไลน์

กิจกรรมใดบ้างควรจะออฟไลน์ เช่น กิจกรรมบางกิจกรรมอาจไม่จ าเป็นต้องออนไลน์ แต่เป็นการให้

ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองก่อนก่อนที่จะเข้าสู่การออนไลน์ ดังนั้น ในการบรรยาย 3 ชั่วโมง อาจจะ แบ่งเป็นกิจกรมที่ออฟไลน์ได้ เช่น การศึกษาเนื้อหา ด้วยเอกสารประกอบการสอน การฟังบรรยาย จากสื่อวิดีโอ เป็นต้น ส าหรับการออนไลน์เลือกเฉพาะกิจกรรมที่ต้องการพบปะเห็นหน้ากัน เช่น การบรรยายสรุปเนื้อหาส าคัญ การน าเสนอ การอภิปราย เป็นต้น

พัชราภรณ์ ดวงชื่น (2563) กล่าวว่า การเรียนผ่านระบบออนไลน์ 100% รูปแบบ ดังกล่าวเหมาะสมกับโรงเรียนที่มีความพร้อมทั้งด้านระบบการเรียนการสอนและหลักสูตรผ่านระบบ

90 ออนไลน์ ผู้เรียนมีความพร้อมในการเรียนผ่านระบบออนไลน์ ผู้ปกครองมีความพร้อมในการช่วยเหลือ สนับสนุน รวมทั้งมีเครื่องมือสนับสนุนการเรียน เช่น คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค แทปเลต สมาร์ทโฟน และ อินเทอร์เน็ต

ไพศาล สุวรรณน้อย (2563) กล่าวว่า การเปลี่ยนสถานที่การเรียนรู้เปลี่ยนจากการ เรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียนเป็นการเรียนในที่ส่วนตัว ในวิถีใหม่ทางการศึกษาแทนที่จะไปโรงเรียนหรือ มหาวิทยาลัยเพื่อเรียนรู้ แต่การเรียนรู้เกิดขึ้นที่บ้าน (Learn from home) ภายในพื้นที่ส่วนตัวของ แต่ละคน ที่จริงแนวคิดนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ยุค Web 2.0 (ยุคที่สองของการพัฒนาอินเทอร์เน็ตโดยส่วนใหญ่

มีเนื้อหาที่ผู้ใช้สร้างขึ้นบนโซเชียลมีเดีย) ผู้เรียนแต่ละคนเรียนรู้โดยผ่านอุปกรณ์ระบบออนไลน์ของ ตนเอง และเข้าไปท ากิจกรรมการเรียนรู้ใน Virtual classroom ที่พัฒนาขึ้นจากระบบ Learning Management System: LMS) ที่เรียกกันว่าระบบ e-Learning ที่มีเครื่องมือ (Tools) ให้เลือกใช้

มากมาย เช่น Google classroom, Moodle, MOOC ผู้เรียนไม่ต้องเดินทาง การเรียนผ่านระบบ เหล่านี้จะท ากิจกรรมการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงในการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของเรา จากการมีปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ (Face to Face) เป็นการพบปะกันแบบเสมือนโดยใช้สื่อ Social media ทั้ง Facebook, Line, FB Messenger, Google meet และ ZOOM เป็นต้น ซึ่งมีเครื่องมือ ให้เลือกใช้ได้หลากหลายในปัจจุบัน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านี้ช่วยให้เรายังคงมีปฏิสัมพันธ์

กับชุมชนการเรียนรู้ เรายังคงแลกเปลี่ยนการสนทนากับเพื่อนร่วมชั้นและอาจารย์ได้ เราไม่ได้ถูก ตัดขาดจากชุมชนแห่งการเรียนรู้ เพียงแค่เปลี่ยนช่องทางการสื่อสารของเราในการด าเนินกิจกรรม การเรียนรู้ในรูปแบบใหม่

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2563) กล่าวว่า การออกแบบการเรียนรู้ให้

หลากหลายและตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียนรายบุคคล ทั้งการเรียนรู้แบบ Face to Face และการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อเปิดพื้นที่ของการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนให้ได้มากที่สุด พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ที่มีลักษณะเป็น Active learning ที่ผู้เรียนมีความ กระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายมากว่าการนั่งฟังการบรรยายเท่านั้น

มารุต พัฒผล และคณะ (2564) กล่าวว่า ผู้สอนดูแลเอาใจใส่กระบวนการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้วยการตรวจสอบติดตามถามไถ่ผู้เรียนและผู้ปกครองผ่านช่องทางออนไลน์หรือการเยี่ยมบ้าน เป็นระยะ ๆ ให้ค าแนะน าผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลผู้เรียนให้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง โดยใช้วิธีการหรือสื่อต่าง ๆ ที่ง่ายต่อความเข้าใจของผู้ปกครอง ให้ความช่วยเหลือทาง วิชาการแก่ผู้เรียนที่เรียนรู้ไม่ได้ด้วยตนเองเป็นรายกรณีผ่านช่องทางออนไลน์หรือการเยี่ยมบ้านตาม ความเหมาะสมและปลอดภัย

91

Garis besar

Dokumen terkait