• Tidak ada hasil yang ditemukan

ระยะของการวิจัย ขั้นตอนด าเนินการ และผลที่คาดหวัง

ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และ ความต้องการจ าเป็น ของการจัดการเรียนรู้วิถี

ใหม่ ของโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2

1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีจากเอกสาร ต ารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2. สังเคราะห์ องค์ประกอบและตัวชี้บ่งชี้การ ด าเนินงานในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิถี

ใหม่

3. ตรวจสอบโดยอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อ ตรวจสอบ

และปรับปรุงแนวทางการพัฒนาฯ

4. สร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจ าเป็น ในการปฏิบัติงานภายใต้กรอบแนวทางการ ด าเนินงานการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่

5. เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 6. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึง ประสงค์มาวิเคราะห์ หาค่าดัชนีความต้องการ จ าเป็นและจัดล าดับความต้องการ (PNI)

ทราบองค์ประกอบ และตัวบ่งชี้การ จัดการเรียนรู้วิถีใหม่

สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์

และความต้องการ จ าเป็น ของการ จัดการเรียนรู้วิถีใหม่

ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการ จัดการเรียนรู้วิถีใหม่

ของโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2

1. ศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศจากผู้ทรงคุณวุฒิด้าน ทางการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่

2. การวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวคิด และ หลักการในการร่างแนวทางพัฒนาฯ 3. น าข้อมูลจากระยะที่ 1 และข้อมูลจาก ผู้ทรงคุณวุฒิมายกร่างแนวทางในการจัดการ เรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษาส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 (ฉบับที่ 1) และปรับปรุง ยกร่าง

4. ตรวจสอบยืนยัน ประเมินความเหมาะสมและ ความเป็นไปได้ของ แนวทาทางการพัฒนาฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน

ได้แนวทางในการ จัดการเรียนรู้วิถีใหม่

ของโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาระถม ศึกษามหาสารคาม เขต 2

142 แนวทางการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ผู้วิจัยได้ก าหนดวิธีการด าเนินการวิจัยเป็น 2 ระยะ ดังต่อไปนี้

ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจ าเป็นของการจัดการเรียนรู้

วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2

1. ขั้นด าเนินการ

1.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีจากเอกสาร ต ารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับองค์ประกอบ และตัวบ่งชี้ ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

1.2 สังเคราะห์ องค์ประกอบและตัวชี้บ่งชี้การด าเนินงานในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้

วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2

1.3 น าไปปรึกษา และตรวจสอบโดยอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อตรวจสอบ และปรับปรุง การจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

1.4. สร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์

และความต้องการจ าเป็นในการปฏิบัติงานภายใต้กรอบแนวทางการด าเนินงานการจัดการเรียนรู้

วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 2

1.5 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

1.6 วิเคราะห์ความต้องการจ าเป็นในการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 เพื่อจัดล าดับ

ความส าคัญ (Modified Priority Needs Index : PNImodified) น าผลที่ได้ไปใช้ในการออกแบบ แนวทางการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

สถานศึกษา

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง

ครูผู้สอน ผู้บริหาร รวม ครูผู้สอน ผู้บริหาร รวม

เล็ก 89 9 98 28 3 31

กลาง 673 39 712 209 13 222

ใหญ่ - - - -

ใหญ่พิเศษ - - - -

รวม 762 48 810 237 16 253

144 3. เครื่องมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยได้ด าเนินการสร้างแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และวิธีการ จัดการเรียนรู้วิถีใหม่ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

3.1 ศึกษาเอกสาร ต าราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ก าหนดโครงสร้างของแบบสอบถาม ตามกรอบการวิจัย

3.2 ศึกษาแนวคิดจากเอกสาร ต ารา ทฤษฎี หลักการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบของวิธีการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของ Khait และคณะ (2020), UNESCO (2020), Cottle (2021), กาญจนา บุญภักดิ์ (2563), จักรกฤษณ์ โพดาพล (2563), เทื้อน ทองแก้ว (2563), พัชราภรณ์ ดวงชื่น (2563), ไพศาล สุวรรณน้อย (2563), วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2563) และมารุต พัฒผล และจิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย (2564) สรุปได้ว่ามีอยู่ 5 วิธี คือ 1) พัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ 2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้เรียน 3) สร้างสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4) ออกแบบการประเมินผลที่

หลากหลาย 5) ช่วยเหลือผู้เรียนที่ขาดความพร้อมด้านการจัดการเรียนรู้

3.3 น าประเด็นในการส ารวจสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการ จ าเป็นมาจากข้อสรุปจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการประเมินความเหมาะสม ขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ มาสร้างเป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีองค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้วิถี

ใหม่ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่

3.3.1 พัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์

3.3.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน 3.3.3 สร้างสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย

3.3.4 ออกแบบการประเมินผลที่หลากหลาย

3.3.5 ช่วยเหลือผู้เรียนที่ขาดความพร้อมด้านการจัดการเรียนรู้

3.4 สร้างแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และวิธีเสริมสร้าง การจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ต าแหน่ง เพศ และขนาดของสถานศึกษา ลักษณะเป็นข้อค าถามแบบตรวจสอบรายการ (Checklist)

ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อสภาพปัจจุบันและ สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจ าเป็นของการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ลักษณะค าถามเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ ที่แสดงถึงการความคิดเห็นต่อ

สภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจ าเป็น ได้แก่

145 5 หมายถึง มีความคิดเห็นต่อสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์

อยู่ในระดับมากที่สุด

4 หมายถึง มีความคิดเห็นต่อสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์

อยู่ในระดับมาก

3 หมายถึง มีความคิดเห็นต่อสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์

อยู่ในระดับปานกลาง

2 หมายถึง มีความคิดเห็นต่อสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์

อยู่ในระดับน้อย

1 หมายถึง มีความคิดเห็นต่อสภาพปัจจุบัน/สภาพที่พึงประสงค์

อยู่ในระดับน้อยที่สุด

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ เกี่ยวกับสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ลักษณะเป็นค าถามปลายเปิด

3.5 น าแบบสอบถามที่สร้างเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อตรวจสอบ ข้อบกพร่องของข้อค าถามและข้อเสนอแนะในส่วนที่เกี่ยวข้อง

3.6 ผู้วิจัยน าแบบสอบถามมาตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ทุกด้าน

3.7 ผู้วิจัยน าแบบสอบถามที่แก้ไขตามค าแนะน าของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

แล้วน าไปเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) และหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อค าถาม (Index of Item Objective Congruence, IOC) โดยพิจารณาข้อความที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.60 ขึ้นไป โดยใช้เกณฑ์ดังนี้

1 เมื่อมั่นใจว่าข้อค าถามนั้นมีความสอดคล้องกับนิยามศัพท์เฉพาะ 0 เมื่อไม่มั่นใจว่าข้อค าถามนั้นมีความสอดคล้องกับนิยามศัพท์เฉพาะ -1 เมื่อมั่นใจว่าข้อค าถามนั้นไม่มีความสอดคล้องกับนิยามศัพท์เฉพาะ ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือวิจัยและพัฒนาให้ความเห็นเกี่ยวกับ ความสอดคล้องของข้อค าถาม โดยใช้เทคนิค IOC (Index of Item Objective Congruence) ที่ผู้วิจัยได้คัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จ านวน 5 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้าน บริหารการศึกษา จ านวน 3 คน ด้านหลักสูตรและการสอน จ านวน 2 คน ซึ่งมีคุณสมบัติครบ ตามเกณฑ์ของผู้เชี่ยวชาญ ดังนี้

146 1. ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา เป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ ากว่าระดับปริญญาเอกทางด้านการบริหารการศึกษา หรือเป็นผู้บริหาร

สถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษาที่มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ ากว่าระดับปริญญาโททางด้านการบริหาร การศึกษา หรือเป็นบุคลากรทางการศึกษาที่มีประสบการและต าแหน่งทางด้านการบริหารการศึกษา และมีวิทยฐานะไม่ต่ ากว่าช านาญการพิเศษ

2. ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน เป็นอาจารย์ใน

สถาบันอุดมศึกษา ที่มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ ากว่าระดับปริญญาเอกทางด้านหลักสูตรและการสอน หรือเป็นครูผู้สอนหรือบุคลากรทางการศึกษา ที่มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ ากว่าปริญญาโททางด้านหลักสูตร และการสอน หรือมีวิทยฐานะเชี่ยวชาญขึ้นไป จ านวน 2 ท่าน

ซึ่งผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ วุฒิการศึกษา

กศ.ด.การบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต าแหน่ง รองคณบดีฝ่ายบริหาร และแผน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชชัย จิตรนันท์ วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์

ดุษฎีบัณฑิต (อุดมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต าแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารและพัฒนา การศึกษา

3. นายมีชัย พลภูงา วุฒิการศึกษา กศ.ม.วิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผลการศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา

4. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม วุฒิการศึกษา กศ.ด.วิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต าแหน่ง รองศาสตราจารย์ ภาควิชา หลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการ เรียนการสอน

5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประสงค์ สายหงส์ วุฒิการศึกษา Ph.D.

Early Intervention/Early Childhood Special University of Oregon ต าแหน่ง ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน

ผู้วิจัยได้น าแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการ จ าเป็นในการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับความสอดคล้องของ ข้อค าถาม โดยใช้เทคนิค IOC (Index of Item-Objective Congruence) แล้วคัดเลือกข้อค าถามที่มี

ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.60-1.00

Garis besar

Dokumen terkait