• Tidak ada hasil yang ditemukan

การหาคุณภาพแบบทดสอบระหว่างเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลัง

4. วิธีด าเนินการวิจัย

4.2 การหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย

4.2.2 การหาคุณภาพแบบทดสอบระหว่างเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลัง

ข้อสอบดี ซับซ้อนและแยกระดับผู้เรียนได้ แต่บางข้อยากเกินไปส าหรับผู้เรียนชาวเวียดนามชั้นปีที่

2 จึงแนะน าให้ปรับข้อสอบให้เหมาะกับความสามารถของผู้เรียน

ด้านคุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ มี 4 หัวข้อได้แก่ สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องส านวนไทยที่เกี่ยวกับดอกไม้ ให้ความรู้เรื่องวัฒนธรรมไทยที่เกี่ยวกับดอกไม้ ผู้เรียนชาว เวียดนามได้เพิ่มวงศัพท์ภาษาไทย และใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทย มีค่า การประเมินเท่ากับ 4.66 ระดับคุณภาพดีมาก และมี 1 หัวข้อที่คะแนนการประเมินเท่ากับ 4.33 ระดับคุณภาพดี คือสร้างแรงจูงในการอ่านภาษาไทย แสดงให้เห็นว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติม อิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้มีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อนักศึกษาเวียดนาม ช่วยเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทยและสร้างแรงจูงใจในการอ่านภาษาไทย

4.2.2 การหาคุณภาพแบบทดสอบระหว่างเรียนและแบบทดสอบวัดผล

ข้อสอบที่ใช้ได้ต้องมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5-1 ข้อสอบที่มีค่า IOC ต ่ากว่า 0.5 ต้อง แก้ไข

ตาราง 4 แสดงคะแนนประเมินความสอดคล้องของค าถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้จาก ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน

ล าดับ รายการ

คะแนนความ สอดคล้องจาก

ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน

ค่า IOC

1 2 3

1 แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 1 “ดอกไม้ในวิถีชีวิตคน

ไทย” สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้บทที่ 1 0 +1 +1 0.66 2 แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 2 “บัวไม่ช ้ำ น ้ำไม่ขุ่น” :

ดอกไม้กินได้ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้บทที่ 2 +1 +1 +1 1 3 แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 3 “พ่อพวงมำลัย” :

ร้อยพวงมำลัย สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้บทที่ 3 +1 +1 +1 1 4 แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 4 “กระดังงำลนไฟ”:

กำรอบร ่ำผ้ำ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้บทที่ 4 0 +1 +1 0.66 5

แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 5 “เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย” : ควำมผูกพันของครอบครัวไทย สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้บทที่ 5

+1 +1 +1 1

6

แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 6 “แม่สำยบัวแต่งตัวค้ำง”:

ค ำคล้องจองในส ำนวนไทย สอดคล้องกับจุดประสงค์การ เรียนรู้บทที่ 6

+1 +1 +1 1

7

แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 7 “เด็ดดอกไม้ร่วมต้น”:

การถวายดอกไม้ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้บท

ที่ 7 +1 +1 +1 1

ตาราง 4 (ต่อ)

ล าดับ รายการ

คะแนนความ สอดคล้องจาก ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน

ค่า IOC

1 2 3

8

แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 8 “ดอกพิกุลร่วง” : นิทำนพื้นบ้ำน เรื่อง พิกุลทอง สอดคล้องกับจุดประสงค์

การเรียนรู้บทที่ 8

+1 +1 +1 1

9

แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 9 “เห็นกงจักรเป็น ดอกบัว”: นิทำนชำดก เรื่อง มิตตวินทุกชำดก สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้บทที่ 9

+1 +1 +1 1

10

แบบทดสอบระหว่างเรียนบทที่ 10 “ปำกคลองตลำด...

ตลำดดอกไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย” สอดคล้องกับ จุดประสงค์การเรียนรู้บทที่ 10

-1 +1 +1 0.33 11 แบบทดสอบหลังเรียนสอดคล้องกับจุดประสงค์การ

เรียนรู้ทุกบท +1 +1 +1 1

จากตารางที่ 4 แสดงคะแนนประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน พบว่า แบบทดสอบ ระหว่างเรียนบทที่ 2-3 และบทที่ 5-9 รวมถึงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน มีค่า IOC เท่ากับ 1 แสดงว่าข้อสอบมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของ บทเรียน ส่วนบทที่ 1 และบทที่ 4 มีค่า IOC เท่ากับ 0.66 น้อยกว่าบทอื่น ผู้เชี่ยวชาญแนะน าให้

ปรับแก้ค าถามให้ชัดเจนขึ้นและปรับแก้ตัวเลือกที่สามารถเลือกค าตอบที่ถูกได้มากกว่า 1 ข้อและ ให้เปลี่ยนรูปภาพในแบบทดสอบไม่ให้ซ ้ากับภาพในบทอ่าน ทั้งนี้ค่า IOC มากกว่า 0.5 จึงผ่าน เกณฑ์ที่ก าหนด บทที่ 10 มีค่า IOC เท่ากับ 0.33 ต ่ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนด เนื่องจากตัวเลือกใน ข้อสอบบางข้อไม่มีความสัมพันธ์กัน ผู้เชี่ยวชาญจึงแนะน าให้ปรับแก้ค าถามและอธิบายเนื้อหาใน บทที่ 10 ให้ชัดเจนขึ้น สะท้อนแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผู้วิจัยจึงปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาบทเรียน และข้อสอบตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ข้อสอบมีคุณภาพมากขึ้น