• Tidak ada hasil yang ditemukan

การออกข้อสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้น

124

125 ตาราง 13 (ต่อ)

สาระการเรียนรู้/

มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จ านวนข้อสอบ ทั้งหมด ต้องการ 2. แก้ปัญหาเกี่ยวกับ

ปริมาตรและความจุ

ของทรงสี่เหลี่ยม มุมฉาก

1. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตร หรือ ความจุของทรง สี่เหลี่ยมมุมฉาก

2 1

3. เขียนแผนผัง แสดงต าแหน่งของ สิ่งต่าง ๆ และแผนผัง แสดงเส้นทาง การเดินทาง

1. การเขียนแผนผังแสดง สิ่งต่าง ๆ

2. การเขียนแผนผังแสดง เส้นทางการเดินทาง 3. การเขียนแผนผัง โดยสังเขป

2 1

รวม 12 6

3.4 สร้างแบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

เป็นแบบทดสอบอัตนัย จ านวน 12 ข้อ ต้องการใช้จริง 6 ข้อ เสนอต่อกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์

แล้วท าการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ

3.5 น าแบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่

ปรับปรุง แล้วพร้อมกับนิยามศัพท์ และแบบประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องไป ขอความอนุเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม จ านวน 5 ท่าน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง

(Purposive Sampling) เพื่อพิจารณาประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องระหว่างข้อค าถาม กับพฤติกรรมชี้วัด ด้านความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ต้องมากกว่า หรือเท่ากับ 0.50 ตามหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนน ดังนี้

(มนตรี วงษ์สะพาน, 2563)

ให้คะแนน +1 เมื่อผู้เชี่ยวชาญแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นวัดตรงตาม พฤติกรรมชี้วัดด้านความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ให้คะแนน 0 เมื่อผู้เชี่ยวชาญไม่แน่ใจว่าข้อค าถามนั้นวัดตรงตาม พฤติกรรมชี้วัดด้านความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

126 ให้คะแนน -1 เมื่อผู้เชี่ยวชาญแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นได้วัด

ไม่ตรงตามพฤติกรรมชี้วัดด้านความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

3.6 วิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC ระหว่างข้อค าถามกับ พฤติกรรมชี้วัดด้านความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยค่าความสอดคล้อง (IOC) ต้องมากกว่า หรือเท่ากับ 0.50 ถือว่าใช้ได้ พบว่า ได้ค่าความสอดคล้องอยู่ในช่วง (0.60-1.00) ผลการประเมินแสดงในภาคผนวก

3.7 พิมพ์ต้นฉบับแบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ ที่ปรับปรุงแล้วจ านวน 6 ข้อ น าไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลอง คือ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนหลักเหลี่ยมวิทยาคม สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 จ านวน 20 คน จาก 1 ห้องเรียน และเป็นกลุ่มเดียวกันกับทดลองใช้

แผนการจัดการเรียนรู้

3.8 น าคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าอ านาจจ าแนก (D) ของแบบทดสอบ วัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และควรมีค่าอ านาจจ าแนก ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป (มนตรี วงษ์สะพาน, 2563) พบว่า ได้ค่าอ านาจจ าแนกอยู่ในช่วง (0.20-0.91) ผลการประเมินแสดงใน ภาคผนวก

3.9 น าแบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ที่คัดเลือกแล้วทั้ง 6 ข้อ มาหาค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (Reliability) โดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์

แอลฟาของครอนบาค (Cronbach) (ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน, 2558) พบว่า ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.76 ผลการประเมินแสดงในภาคผนวก

3.10 จัดพิมพ์แบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ที่คัดไว้เป็นฉบับจริง จ านวน 6 ข้อ เพื่อน าไปใช้กับกลุ่มทดลองต่อไป

4. คู่มือการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริม ความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

คู่มือการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริม ความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีขั้นตอนการสร้าง และหาคุณภาพเครื่องมือ ดังนี้

4.1 ศึกษาหลักการ ทฤษฎี ความส าคัญ องค์ประกอบ ขั้นตอน การจัดท าคู่มือการจัดการเรียนรู้

4.2 ก าหนดองค์ประกอบคู่มือการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 4.2.1 ชื่อคู่มือการจัดการเรียนรู้

4.2.2 ค าชี้แจงการใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้

127 4.2.3 หลักการเหตุผล

4.2.4 วัตถุประสงค์การใช้คู่มือ 4.2.5 แนวคิด/ทฤษฎี

4.2.6 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

4.2.7 การเตรียมความพร้อมของครูผู้สอน 4.2.8 การเตรียมความพร้อมของนักเรียน 4.2.9 การวัดผลและประเมินผล

4.2.10 แผนการจัดการเรียนรู้

4.2.11 เครื่องมือในการวิจัย 4.2.12 เอกสารอ้างอิง 4.2.13 ภาคผนวก

4.3 น าคู่มือที่สร้างเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาหลักและผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสมและประเมินคุณภาพ

4.4 น าคู่มือที่อาจารย์ที่ปรึกษาหลักและผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแล้ว มาแก้ไข ปรับปรุงให้สมบูรณ์

4.5 จัดพิมพ์คู่มือการจัดการเรียนรู้ฉบับสมบูรณ์ ที่ได้ปรับปรุง เรียบร้อยแล้ว เพื่อน าไปใช้จริง

ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้รูปแบบ 1. จุดมุ่งหมาย

1.1 เพื่อตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการ พุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6

1.2 เพื่อทดลองใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้น 2. กลุ่มทดลอง

นักเรียนประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนหลักเหลี่ยมวิทยาคม

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จ านวน 1 ห้องเรียน รวม 20 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling)

3. เครื่องมือ

3.1 แผนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 12 แผน รวมเวลาทั้งหมด 25 ชม.

3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

128 3.3 แบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

3.4 คู่มือการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริม ความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

4. วิธีการเก็บข้อมูล

4.1 น าหนังสือขออนุญาตทดลองใช้เครื่องมือจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไปขอทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถ การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

4.2 จัดการเรียนรูในชั่วโมงวิชาคณิตศาสตร์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 25 ชั่วโมง ซึ่งผู้วิจัยปฏิบัติการสอนและเก็บข้อมูลด้วยตนเอง

5. การวิเคราะห์ข้อมูล

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เป็นคะแนนที่ได้จากการท า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ มาวิเคราะห์เพื่อหาค่าคุณภาพเครื่องมือ

6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

จากการศึกษาระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้วิจัยสามารถ สรุปกระบวนการด าเนินการ ปรากฏดังภาพประกอบ 8

129

ภาพประกอบ 8 กระบวนการด าเนินการวิจัยระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตาม ทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ขั้นตอนที่ 1

การสร้างรูปแบบ สร้างรูปแบบโดยอาศัยข้อมูลพื้นฐาน

ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพ

ของรูปแบบ

ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนาเครื่องมือ

ประกอบรูปแบบ

ผู้เชี่ยวชาญ ประเมินตรวจสอบ

ปรับปรุงแก้ไข

ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้รูปแบบ

ทดลองใช้กับนักเรียน 20 คน

แผนการจัดการเรียนรู้

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

แบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

แก้ไขตาม ข้อเสนอแนะ เพื่อให้รูปแบบ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

คู่มือการจัดการเรียนรู้

ใช้ได้

ใช้ไม่ได้

ปรับปรุงแก้ไข อาจารย์ที่ปรึกษา

ตรวจสอบ

ใช้ไม่ได้

ใช้ได้

130 ระยะที่ 3 การศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

1. จุดมุ่งหมาย

1.1 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถ การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน

1.2 เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียน

2. ประชากร

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จ านวน 5 โรงเรียน แบ่งเป็น 6 ห้องเรียน รวมนักเรียนทั้งสิ้น 120 คน

3. กลุ่มตัวอย่าง

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนยอดแก่งสงเคราะห์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จ านวน 1 ห้องเรียน รวม 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม

(Cluster Random Sampling)

4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย

4.1 แผนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 12 แผน รวมเวลาทั้งหมด 25 ชม.

4.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

4.3 แบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

4.4 คู่มือการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถ การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

5. วิธีการเก็บข้อมูล

ผู้วิจัยน าหนังสือจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อขออนุญาตใช้

รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีพัฒนาการพุทธิปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผ่านการประเมินคุณภาพและการทดลองใช้

จากระยะที่ 2 มาใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ชุมชนยอดแก่งสงเคราะห์ จ านวน 1 ห้องเรียน รวม 30 คน