• Tidak ada hasil yang ditemukan

การออกข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 6 ตามสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้/

มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จ านวนข้อสอบ ทั้งหมด ต้องการ สาระที่ 2 การวัด

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจ พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาด ของมาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ การวัด วัดและ คาดคะเนขนาดของ สิ่งที่ต้องการวัด

1. อธิบายเส้นทาง หรือบอกต าแหน่ง ของสิ่งต่าง ๆ โดยระบุ

ทิศทาง และระยะทาง จริง จากรูปภาพ แผนที่ และแผนผัง

1. ทิศ

2. การบอกต าแหน่งโดยใช้ทิศ 3. มาตราส่วน

4. การอ่านแผนผัง

3 2

2.หาพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยม

1. การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม โดยใช้ความยาวของด้าน 2. การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม โดยใช้สมบัติของเส้นทแยงมุม

9 6

3. หาความยาว รอบรูป และพื้นที่ของ รูปวงกลม

1. การหาความยาวรอบรูป วงกลม หรือความยาวรอบวง 2. การหาพื้นที่ของรูปวงกลม

7 4

สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับ การวัด

1. แก้ปัญหาเกี่ยวกับ พื้นที่ ความยาวรอบรูป ของรูปสี่เหลี่ยม และ รูปวงกลม

1. การคาดคะเนพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยม

2. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ความยาวรอบรูป และพื้นที่

ของรูปสี่เหลี่ยม 3. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ความยาวรอบรูป และ พื้นที่ของรูปวงกลม

15 12

2. แก้ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรและความจุ

ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

1. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตร หรือความจุของ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

7 4

122 ตาราง 12 (ต่อ)

สาระการเรียนรู้/

มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จ านวนข้อสอบ ทั้งหมด ต้องการ 3. เขียนแผนผังแสดง

ต าแหน่งของสิ่งต่าง ๆ และแผนผังแสดง เส้นทางการเดินทาง

1. การเขียนแผนผังแสดง สิ่งต่าง ๆ

2. การเขียนแผนผังแสดง เส้นทางการเดินทาง

3. การเขียนแผนผังโดยสังเขป

4 2

รวม 45 30

2.5 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบแบบ ปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ทั้งหมดจ านวน 45 ข้อ ต้องการใช้จริง 30 ข้อ เสนอต่อกรรมการ ควบคุมวิทยานิพนธ์ แล้วท าการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับความสอดคล้องกับ ตัวชี้วัดและครอบคลุมเนื้อหา

2.6 น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ปรับปรุงแล้ว พร้อมแบบประเมินด้านความเหมาะสมและความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับตัวชี้วัด

ไปขอความอนุเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา โดยพิจารณาจาก ความเหมาะสมของข้อค าถาม และภาษาที่ใช้ รวมถึงความสอดคล้องกับตัวชี้วัดที่ต้องการประเมิน ซึ่งผู้เชี่ยวชาญชุดเดิมจ านวน 5 ท่าน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

2.7 น าผลที่ได้จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาค่าความเหมาะสม และค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ต้องมากกว่า หรือเท่ากับ 0.50 โดยใช้สูตรการหาดัชนีความสอดคล้อง (มนตรี วงษ์สะพาน, 2563) ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ก็จะท า

การปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความสอดคล้องอยู่ในช่วง (0.60-1.00) ผลการประเมินแสดงในภาคผนวก หน้า 302

2.8 จัดพิมพ์เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จ านวน 30 ข้อ แล้วน าไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนหลักเหลี่ยม วิทยาคม สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 3 จ านวน 20 คน จาก 1 ห้องเรียน ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกันกับการทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้

123 2.9 น ากระดาษค าตอบของนักเรียนที่ท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน มาตรวจให้คะแนน ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบไม่ถูก หรือไม่ตอบ หรือตอบเกิน ให้ 0 คะแนน

2.10 น าคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อ เพื่อหา ค่าอ านาจจ าแนก (r) และคัดเลือกข้อสอบที่มีค่าอ านาจจ าแนกเข้าเกณฑ์ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป

(ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน, 2558) พบว่า ได้ค่าอ านาจจ าแนกอยู่ในช่วง (0.20-0.70) ผลการประเมินแสดงใน ภาคผนวก

2.11 น าข้อสอบที่คัดเลือกไว้จ านวน 30 ข้อ มาหาค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับ โดยวิธีของคูเดอร์-ริ ชาร์ดสัน (Kuder-Richardson Method) คือ สูตร KR-20

(ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน, 2558) พบว่า ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.75 ผลการประเมินแสดงในภาคผนวก 2.12 จัดพิมพ์ข้อสอบทั้ง 30 ข้อ เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ฉบับสมบูรณ์ เพื่อน าไปใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มทดลองต่อไป

3. แบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

แบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เป็นแบบทดสอบ แบบอัตนัย จ านวน 6 ข้อ มีขั้นตอนดังนี้

3.1 ศึกษาเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์

3.2 ศึกษาวิธีสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์

3.3 วิเคราะห์ข้อสอบวัดความสามารถการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ปรากฏดังตาราง 13

124