• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผู้วิจัยขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำาปางที่ให้การสนับสนุนงบประมาณการวิจัยในครั้ง

นี้ ขอขอบขอบคุณผู้อำานวยการโรงเรียนลำาปาง กัลยาณี ผู้อำานวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์

จิตต์อารีครูผู้สอน นักเรียนวงโยธวาทิตโรงเรียน ลำาปางกัลยาณี และนักเรียนวงโยธวาทิตโรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี รวมทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกท่านซึ่งไม่อาจกล่าวนามได้หมดในที่นี้

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์

ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2546). กระบวนการและเทคนิคการทำางานของนักพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข.

พรสวรรค์ มณีทอง (2558). การศึกษาเชิงปฏิบัติการด้านการฝึกซ้อมวงโยธวาทิตโดยกระบวนการมีส่วน ร่วมของวงโยธวาทิตในเขตเทศบาลนครลำาปาง

สุกรี เจริญสุข. (2541). การเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุนทรีย ภาพและลักษณะนิสัย: ศิลปะ ดนตรี กีฬา ในโครงการ พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน สำานักงานคณะ กรรมการศึกษาแห่งชาติ.

Lautzenheiser, T.,Higgins, J., Menghini, C., Lavender, P., Rhodes, T.C., & Bierschenk, D. (1999).

Essential elements 2000. : Comprehensive band method (Conductor book 1). Milwaukee, WI: Hal Leonard.

การขยายตัวของชุมชนจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2408 – 2560 The expansion of Mahasarakham communities 1865 -2017

ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ

1

, นราวิทย์ ดาวเรือง

2

, เกริกกฤษณ์ โชคชัยรัชดา

3

, วุฒิกร กะตะสีลา

4

, ปริตส์ สาติ

5

, ณัฐพล นาทันตอง

6

และ ซิสิกกา วันจันทร์

7

Thaveesilp Subwattana

1

, Narawit Daoruaeng

2

, Krirkrit Chokchairatchada

3

, Wutikorn Katasila

4

, Parit Sati

5

, Nataphon Natantong

6

and Sisikka Wannajun

7

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขยายตัวชุมชนในจังหวัดมหาสารคามทั้ง 13 อำาเภอ โดย ให้ความสำาคัญกับปัจจัยที่มีต่อการขยายตัว ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ของคนในชุมชน ซึ่งยังไม่เคยมีงาน เขียนประวัติศาสตร์เมืองมหาสารคามในลักษณะดังกล่าวมาก่อน การศึกษาในหัวข้อดังกล่าวเป็นการศึกษา จากข้อมูลจากเอกสาร และ การสัมภาษณ์ รวมทั้งการทำาเวทีชาวบ้าน ชุมชนในจังหวัดมหาสารคามสามารถ แบ่งลักษณะการขยายตัวออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเมืองยุคเก่าคือกลุ่มเมืองที่เริ่มตั้งเมืองตั้งแต่ พ.ศ.2408- ทศวรรษ 2440 มีทั้งหมด 6 อำาเภอ คือ อำาเภอเมืองมหาสารคาม พยัคฆภูมิพิสัย กันทรวิชัย วาปีปทุม โกสุมพิสัย และ บรบือ กลุ่มอำาเภอที่ตั้งขึ้นจากการขยายตัวในเวลาต่อมาหรือยุคกลางเริ่มตั้งเมืองตั้งแต่

พ.ศ.2502 – 2522 มี 3 อำาเภอ คือ เชียงยืน นาเชือก นาดูน และ กลุ่มอำาเภอยุคใหม่เริ่มตั้งเมืองตั้งแต่ พ.ศ.

2531- 2550 มี 4 อำาเภอ คือ แกดำา ยางสีสุราช ชื่นชม และกุดรัง กลุ่มเมืองยุคเก่าแรกเริ่มทั้ง 6 อำาเภอ เป็นกลุ่มเมืองขนาดใหญ่ที่มีความเจริญก้าวหน้ามาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้อาจเพราะอำาเภอต่างๆ ดังกล่าวได้

สะสมทุนเดิมไว้มานานกว่าอำาเภอที่เกิดใหม่

จากการศึกษาพบว่า การขยายตัวของชุมชนในจังหวัดมหาสารคามเป็นไปอย่างช้าๆ ซึ่งอาจเนื่อง มาจาก มหาสารคามเป็นพื้นที่ทางการเกษตรและผู้คนไม่นิยมการลงทุน โดยนำาเงินทุนไปฝากธนาคาร มากกว่าที่จะนำาไปลงทุนให้เกิดรายได้ในลักษณะอื่นๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการขยายตัวและการเปลี่ยนแปลง ของชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม เป็นผลมาจากปัจจัย 3 ด้าน คือ ประการแรก ปัจจัยจากการเพิ่มขึ้นของ ประชากร ส่งผลให้มีการขยายพื้นที่อยู่อาศัยของคนในชุมชนรวมทั้งเป็นการขยายพื้นที่ทำากิน ปัจจัยดัง กล่าวทำาให้มีการใช้พื้นที่บริเวณรอบๆ ชุมชนเพิ่มขึ้น ประการที่สอง ปัจจัยจากการขยายตัวตามสถานที่

ราชการ ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาใช้ระบบเทศาภิบาล ชุมชนในจังหวัดมหาสารคามมี

1 รองศาสตราจารย์ คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และผู้อำานวยการพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2 นักวิชาการศึกษา สังกัดคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3,4,5,6 นักวิชาการศึกษา สังกัด พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

7 คณบดีคณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

1 Associate Professor , Faculty of Cultural Science and the Director of Mahasarakham University Museum

2 Academic Service Office of Faculty of Humanities and Social Sciences, Mahasarakham University

3,4,5,6 Academic Service Office of Mahasarakham University Museum

7 Dean of Faculty of Cultural Science, Mahasarakham University

44 ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ และคณะ การขยายตัวของชุมชนจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2408 – 2560

การขยายตัวของที่อยู่อาศัยไปตามที่ตั้งสถานที่ราชการโดยเฉพาะที่ว่าการอำาเภอ เพื่อให้สะดวกต่อการ ติดต่อราชการ ส่งผลให้ชุมชน ตลาด ร้านค้าต่างๆกระจุกตัวตามสถานที่ราชการด้วย และประการที่สาม ปัจจัยจากการขยายตัวตามสภาพเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของ ชุมชน อันเนื่องมาจากโดยบทบาทของถนน และระบบการคมนาคม รวมทั้งบทบาทของพ่อค้าคนจีน ค�าส�าคัญ: จังหวัดมหาสารคาม, การขยายตัว, ชุมชน

Abstract

This research focuses on the expansion of Mahasarakham communities in 13 districts. The study not only analyzes the reasons and ways of community expansion but looks at changes and how communities adapted to those changes over time. These observations have not been written into the historical records of Mahasarakham prior to this report. Various methods were used in this research. Researchers began with a study of documents, interviews with people and using local forums and focus groups. The expansion of Mahasarakham communities can be divided in to three periods based on the establishment of a district: The original group (B.E.2408-2440 : 1865-1897) included Muang District; Phayakaphumpisai District; Kantarawichai District; Wapi phathum District;

Kosumpisai District and Borrabue District. The Second group ( B.E.2502-2522:1959 - 1979) Chiang Yuen District; Na Chueak District; and Nadun District. The third group (B.E.2531 – 2550 : 1988 - 2007) Kaedum District; Yang Srisurat District; Chuen Chom district; and Kudrang District.

The research revealed that the expansion of the 13 Mahasrarakham district communities in the study developed slowly owing to the fact that most people in this province were and are in the agricultural sector, and most of the rich people of this province do not invest their money in new business ventures. There are three factors that affected the expansion of Mahasarakham communities: 1) population increase which prompted people to use more land, 2) the construction of official buildings encouraging people to live nearby, 3, economic growth, the development of roads and a transportation system including the role of the Chinese business man.

Keywords : Mahasarakham Province, the expansion, communities

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 45 ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 มีนาคม - เมษายน พ.ศ.2561

บทน�า

เมืองหรือจังหวัดมหาสารคามเป็นเมืองที่

ไม่มีอะไรโดดเด่น มหาสารคามเป็นจังหวัดที่มีขนาด เล็ก ไม่มีอุตสาหกรรมที่ใหญ่โต เนื่องจากประชากร ส่วนใหญ่มีอาชีพทางเกษตรกรรม และในอดีตเคย ถูกระบุว่าเป็นจังหวัดที่ “ยากจน” ของประเทศไทย ถึงแม้ในปัจจุบันได้มีการจัดให้มหาสารคามเป็น จังหวัดกำาลังพัฒนาก็ตาม นอกจากนี้มหาสารคาม ยังเป็นที่ “ฝึกงาน”ของข้าราชการกล่าวคือ ก่อนที่

ข้าราชการจะไปดำารงตำาแหน่งที่สูงขึ้น ข้าราชการ เหล่านั้นมักจะมา “ฝึกหัด” ที่จังหวัดมหาสารคาม ก่อนที่จะไปดำารงตำาแหน่งในจังหวัดใหญ่แห่งอื่นๆ ต่อไป (นางทองเลี่ยม เวียงแก้ว. 2557 : สัมภาษณ์) จังหวัดมหาสารคามไม่มีสถานที่ท่องเที่ยวสำาคัญที่

ดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งคนในประเทศและต่าง ประเทศ พื้นที่จังหวัดมหาสารคามไม่มีภูเขา ไม่ติด ทะเล ไม่มีนำ้าตก ไม่มีป่าดงดิบให้ท่องเที่ยว และมิได้

มีสินค้าที่โดดเด่นกว่าพื้นที่อื่นๆ ในภาคอีสาน แต่

บทบาทสำาคัญของจังหวัดมหาสารคาม คือมีสถาบัน การศึกษาหลายแห่งและมีนักศึกษาจำานวนมาก ซึ่ง มีผลให้จังหวัดมหาสารคามมีรายได้สูงกว่าที่เคย เป็นมา

ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ที่ สำา คั ญ ไ ด ้ แ ก ่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาสารคาม สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต มหาสารคาม วิทยาลัยพยาบาล วิทยาลัย อาชีวศึกษา วิทยาลัยเกษตร คน และ ศูนย์การ ศึกษาพิเศษจังหวัดมหาสารคาม มีนักศึกษา รวม ทังสิ้นประมาณ 71,402 คน (สำานักงานสถิติจังหวัด มหาสารคาม. รายงานสถิติจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2560: 48) การที่มีนักศึกษา จากต่างถิ่น จำานวนมากเดินทางมาศึกษายังสถาบันต่างๆ ที่ได้

กล่าวมามีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจของจังหวัด มหาสารคามดีขึ้น และทำาให้เมืองเกิดการขยายตัว ในรูปแบบต่างๆ

ถึงแม้จะมีสถาบันการศึกษาหลายแห่งก็ตาม แต่การขยายตัวของเมืองหรือจังหวัดมหาสารคาม ได้เป็นไปอย่างช้าๆ การจะเข้าใจถึงสาเหตุดังกล่าว อาจต้องกลับไปศึกษาประวัติศาสตร์ของเมืองหรือ จังหวัดมหาสารคามว่ามีความเป็นมาอย่างไร จาก การศึกษาในเบื้องต้นพบว่า เมืองมหาสารคามตั้ง มาได้ประมาณ 150 ปี แต่ยังไม่มีงานเขียนเกี่ยวกับ เมืองนี้ที่มีลักษณะเป็นประวัติศาสตร์ที่แท้จริง เติม วิภาคย์พจนกิจ (2542) เขียนเกี่ยวกับเมือง มหาสารคามในหนังสือประวัติศาสตร์อีสาน เป็น เพียงการเล่าเรื่องของผู้ปกครองเมืองที่เกี่ยวข้องกับ ศูนย์กลางอำานาจที่ ร้อยเอ็ด และกรุงเทพฯ งาน เขียนอื่น ๆ เกี่ยวกับเมืองมหาสารคาม เช่นงาน เขียนของบุญช่วย อัตถากร และงานเขียนของ รอง ศาสตราจารย์ ธีรชัย บุญมาธรรม (ธีรชัย บุญมา ธรรม. 2554;2558) ได้เขียนเล่าเรื่องเมือง มหาสารคามในลักษณะที่ไม่ต่างไปจากงานของเติม วิภาคย์พจนกิจ มากนัก งานเขียนในลักษณะดัง กล่าวไม่เห็นภาพของชีวิตผู้คนของเมืองนี้ในมิติของ เวลา ไม่เห็นภาพการขยายตัวของชุมชน ไม่เห็น ภาพของความเปลี่ยนแปลง และการปรับตัวของ ผู้คน ในจังหวัดมหาสารคาม ส่วนใหญ่งานเขียนเป็น เรื่องเกี่ยวกับเมืองมหาสารคามมักเน้นเรื่องราวของ เหตุการณ์ในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม มากกว่าเรื่องราวของอำาเภอต่าง ๆ อีก 12 อำาเภอ ของจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งสิ่งที่เขียนกลายเป็น เรื่องเล่ามากกว่าที่จะเป็นประวัติศาสตร์ของจังหวัด มหาสารคามและทำาให้ไม่สามารถเข้าใจปัญหาของ จังหวัดนี้ได้

ดังนั้นงานเขียนชิ้นนี้จึงจะเป็นงานเขียน ชิ้นแรกๆ ที่เขียนเกี่ยวกับการขยายตัวของชุมชน ในเขตอำาเภอต่าง ๆ ของจังหวัดมหาสารคามทั้ง 13 อำาเภอ โดยให้ความสำาคัญกับการขยายตัวของ ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม และอาจ กล่าวถึงสถานที่สำาคัญบางแห่ง บุคคลสำาคัญใน ท้องถิ่นซึ่งถูกละเลย เพื่อเป็นข้อมูลสำาหรับการเรียน การสอนวิชาท้องถิ่นของเรา ในโรงเรียนต่างๆ ใน

Garis besar

Dokumen terkait