• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป

1) การวิจัยได้ในครั้งนี้ได้ศึกษาแค่เพียงอิทธิพลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำ ของกลุ่มลูกค้า บริษัทโตโยต้านครปฐม ผู้จำหน่ายโตโยต้าจำกัด หากมีการวิจัยครั้งถัดไป ควรศึกษาถึงความพึงพอใจ ของลูกค้าต่อพนักงานขายและกระบวนการในการซื้อรถยนต์ เพื่อให้ได้ทราบถึงประเด็นที่ลูกค้าพึง พอใจและไม่พึงพอใจในตัวพนักงานขายและกระบวนการซื้อรถยนต์ เพื่อนำมาพัฒนาและปรับปรุงการ พัฒนาพนักงานขายและกระบวนการการซื้อรถยนต์ เพื่อให้พัฒนาได้ทันท่วงทีและเพื่อความได้เปรียบ ในเชิงธุรกิจ

2) การวิจัยได้ในครั้งนี้ได้ศึกษาแค่เพียงอิทธิพลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำ ของกลุ่มลูกค้า บริษัทโตโยต้านครปฐม ผู้จำหน่ายโตโยต้าจำกัด หากมีการวิจัยครั้งถัดไป ควรศึกษาถึงเหตุผลในการ เลือกใช้บริการหลังการขายของศูนย์บริการ บริษัทโตโยต้านครปฐม ผู้จำหน่ายโตโยต้าจำกัด เพื่อให้ได้

ทราบถึงสาเหตุที่ลูกค้าเลือกเข้ามาใช้บริการศูนย์บริการ เพื่อนำสาเหตุที่ได้รับรู้มาพัฒนาและปรับปรุง การบริการของศูนย์บริการ เพื่อครองความเป็นหนึ่งในตลาดทั้งในด้านการขายและการบริการ

3) การวิจัยได้ในครั้งนี้ได้ศึกษาแค่เพียงอิทธิพลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำ ของกลุ่มลูกค้า บริษัทโตโยต้านครปฐม ผู้จำหน่ายโตโยต้าจำกัด หากมีการวิจัยครั้งถัดไป ควรศึกษาถึงประเด็น อ่อนไหวที่นำไปสู่การร้องเรียนของลูกค้า เพื่อนำข้อคิดเห็นที่ได้ ไปพัฒนากระบวนการการทำงานและ ป้องกันการเกิดข้อร้องเรียนจากลูกค้า เพื่อให้เกิดกระบวนการทำงานที่ปราศจากปัญหาและรักษา ความสัมพันธ์อันดีต่อลูกค้า

4) หากมีการวิจัยครั้งต่อไปในเรื่องเดิม ควรศึกษาในยี่ห้อที่ต่างกันออกไป เพื่อสังเกต พฤติกรรมของผู้ซื้อในแต่ละยี่ห้อ ว่าให้ความสำคัญกับสิ่งใดมากที่สุด รวมถึงได้ศึกษาลูกค้าระหว่างรถ ญี่ปุ่นและรถยุโรปว่าให้ความสำคัญในปัจจัยต่างๆเหมือนหรือต่างกันมากน้อยเพียงใด เพื่อนำจุดเด่น ของแต่ละยี่ห้อ มาปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้องกับองค์กรธุรกิจและวิถีชีวิตในปัจจุบัน

รายการอ้างอิง

รายการอ้างอิง

ภาษาไทย

จักรี เปล่งสงวน. (2563). ความภักดีต่อรถยนต์มิตซูบิชิของผู้บริโภคในเขตสมุทรปราการ. เข้าถึงเมื่อ 15 มิถุนายน 2565. เข้าถึงได้จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sun17/611407 0033.pdf

จารุพันธ์ ยาชมภู. (2559). "ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ ขนาดไม่เกิน 1,500 ซีซี." การ ค้นคว้าอิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และก ารบัญชี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จารุภา สายโยช์. (2559). "อิทธิพลของภาพลักษณ์องค์การ และส่วนประสมทางการตลาดต่อความพึง พอใจ ความไว้เนื้อเชื่อใจ ความผูกพัน การบอกต่อ และกลับมาใช้บริการซ้ำของลูกค้าธนาคาร ธนชาต จำกัด (มหาชน) สาขาวงศ์สว่าง." การค้นคว้าอิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

จิตติมา สิ่งสม. (2555). "ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อและความตั้งใจซื้อซ้ำอะไหล่รถยนต์

แท้โตโยต้าของผู้ใช้ในเขตกรุงเทพมหานคร." บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

จิรชยุตม์ เสริมธนะพัฒกุล. (2559). "การรับรู้ภาพลักษณ์ของตราสินค้าประเภทรถยนต์ กรณีศึกษา เปรียบเทียบระหว่างเมอร์เซเดส-เบนซ์ รุ่น ซี-คลาส และ บีเอ็มดับบลิว รุ่น ซีรี่ย์ 3." การค้นคว้า อิส ระห ลั ก สู ต รบ ริห ารธุรกิจ ม ห าบั ณ ฑิ ต ค ณ ะพ าณิ ช ย ศ าส ต ร์แ ล ะการบั ญ ชี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฑิฆัมพร ดอกบัว. (2557). "ปัจจัยที่มีอิทธิพลก่อนการตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียมสำหรับผู้สูงอายุ."

ปริญญามหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ไทยรัฐออนไลน์. (2564). โตโยต้าแถลงยอดขายรถยนต์ปี 2564 ครอส ยาริส ฟอร์จูนเนอร์ ขายดีมี

เบอร์หนึ่ง. เข้าถึงเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2565. เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/

news/auto/news/2298410

ธงชัย สันติวงษ์. (2554). พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจริญพัฒน์.

ธนาภรณ์ ยศไพบูลย์. (2559). "ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ ยี่ห้อโต โยต้า รุ่นโคโรล่า อัลติส ของผู้ที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล." การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธันยกานต์ มีเงิน. (2560). "แนวทางการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมการตลาดของบริษัทไทยยนต์ชลบุรี

99 จํากัด ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมหลังการซื้อรถยนต์." งานนิพนธ์หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สําหรับผู้บริหาร วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธีรพันธ์ โล่ทองคำ. (2550). "รูปแบบกลยุทธ์การใช้เครื่องมือสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการในการบริหาร คุณค่าตราสินค้าตามระดับความสำคัญของผลิตภัณฑ์." ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นภวรรณ คณานุรักษ์. (2556). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ซีวีแอลการพิมพ์.

นฤชร ภูเก้าล้วน. (2563). "ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์โตโยต้าของผู้บริโภคในจังหวัด พิษณุโลก." วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย นเรศวร.

นิติพล ภูตะโชติ. (2558). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย. (2564). ข้อมูลบริษัท. เข้าถึงเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2565. เข้าถึงได้

จาก https://www.toyota.co.th/corporate/company_profile

ปัญจมา รัชตนันทิ. (2556). "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีในตราสินค้าโตโยต้าของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร." สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 1. (2565). สัมภาษณ์, 5 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 2. (2565). สัมภาษณ์, 5 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 3. (2565). สัมภาษณ์, 5 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 4. (2565). สัมภาษณ์, 5 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 5. (2565). สัมภาษณ์, 6 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 6. (2565). สัมภาษณ์, 6 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 7. (2565). สัมภาษณ์, 6 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 8. (2565). สัมภาษณ์, 6 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 10. (2565). สัมภาษณ์, 8 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 11. (2565). สัมภาษณ์, 8 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 12. (2565). สัมภาษณ์, 8 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 13. (2565). สัมภาษณ์, 11 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 14. (2565). สัมภาษณ์, 11 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 15. (2565). สัมภาษณ์, 11 มีนาคม.

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 16. (2565). สัมภาษณ์, 11 มีนาคม.

100 ภาณุวัฒน์ ชุ่มชื่น. (2555). "พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อรถยนต์ยี่ห้อโตโยต้า รุ่น พรีอุส ของผู้บริโภคในเขต

กรุงเท พมห านคร." บ ริห าธุรกิจมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาการตลาด มหาวิท ยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

ภานุพงษ์ พณิชไพโรจน์. (2565). สัมภาษณ์, 5 มีนาคม.

วรลักษณ์ ชีพประกิต. (2558). "อิทธิพลของคุณค่าที่รับรู้ด้านความคุ้มค่า และการรับรู้ความยุติธรรมต่อ ความไว้เนื้อเชื่อใจความพึงพอใจ การบอกต่อ และการกลับมาใช้บริการซ้ำ ของผู้ฝากเงิน ธนาคารออมสินสาขาคลอง 10 ธัญบุรีจังหวดปทุมธานี." บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย กรุงเทพ.

วรากร เพ็ชรรุ่ง และลัดดา วัจนะสาลิกากุล. (2557). "ปัจจัยทางการตลาดและคุณค่าตราสินค้าที่มีผลต่อ พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภครถยนต์ฮอนด้าในเขตภาคกลางของประเทศไทย." วารสารวิจัย และพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 9, 2: 104-113.

ศรินทิพย์ ธีรธนิตนันท์ และกิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. (2555). "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ รถยนต์โตโยต้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร." วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริหารธุรกิจ 2, 2: 198.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2555ก). การบริหารการโฆษณาและการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ.

กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

__________. (2555ข). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และศุภร เสรีรัตน์. (2555). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

สิทธิ์ ธีรสรณ์. (2555). การสื่อสารทางการตลาด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวรรณี นีซัง และกนกพร ชัยประสิทธิ์. (2560). "ภาพลักษณ์บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อรถยนต์ฮอนด้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร."

วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย 7, 3: 341-348.

สุวิทย โชติวิทยธานินทร. (2551). "ความตั้งใจซื้อรถยนตโตโยตาซ้ำของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร."

สาขาวิชาการตลาด สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาบริหาธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินท รวิโรฒ.

เสรี วงษ์มณฑา. (2554ก). กลยุทธ์การตลาด วางแผนการตลาด. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.

__________. (2554ข). การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุบลวรรณ า ภวกานันท์. (2555). จิตวิทยาการรู้คิดและปัญ ญ า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

M report. (2564). ยอดขายรถยนต์ 2564 รวมทั้งปี 7.59 แสนคัน ลดลง 4.2%. เข้าถึงเมื่อ 10

101 กุมภ าพั นธ์ 2565. เข้าถึงได้จาก https://www.mreport.co.th/news/statistic-and- ranking/362-Thailand-Automotive-Sales-2021-December

ภาษาอังกฤษ

Aaker, D. A. (1991). Marketing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York: The Free.

__________. (2004). Building Strong Brands. New York: The Free Press.

Adler, P. A. and Adler, P. (1 9 9 8 ). "Intense loyalty in Organizations: A case study of college Athleties. Administrative Science Quarterly." 33, 3: 401-417.

Anderson, C. (2 0 0 6 ). The long tail: Why the future of business is selling less of more. New York: Hyperion.

Anderson, E. W., Fomell, C. and Lehmann, D. R. (1 9 9 4 ) . "Customer Satisfaction, marketshare, and profitability." Journal of Marketing Research 58, 3: 53-66.

Blackwell, R. D., Miniard, P. W. and Engel, J. F. (2011). Consumer Behavior. Fort Worth:

The Dryden Press.

Bloom, R. (1976). Human characteristics and school learning. New York: McGraw-Hill.

Burton, G. and Thakur, M. (2006). Management Today: Principles and Practice. New Delhi: Tata McGraw – Hill.

Dick, A. S. and Basu, K. (1 9 9 4 ). "Customer loyalty: Toward an integrated conceptual framework." Journal of the Academy of Marketing Science 22, 2: 99-113.

Ehrenberg, A. (1972). Repeat buying. London: Charles Griffin.

Fletcher, G. P. (1993). Loyalty: An essay on the morality of relationships. New York:

Oxford University Press.

Gamble, P. R., Stone, M. and Woodcock, N. (1999). Up Close and Personal?: Customer Relationship Marketing at Work. London: Kogan Page Publishers.

Garland, R. and Gendall, P. (2004). "Testing Dick and Basu's customer loyalty model."

Australasian, 81-87.

Gottardi, P., Maurin, V. and Monnet, C. (2 0 1 5 ). "A theory of repurchase agreements, Collateral re-use and intermediation." Journal of Monetary Economics 75, 54- 68.