• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะในการทำาวิจัยครั้ง ต่อไป

อภิปรายผลการวิจัย

2. ข้อเสนอแนะในการทำาวิจัยครั้ง ต่อไป

2.1 ควรทำาการพัฒนาแบบทดสอบหรือ แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มี

ลักษณะเป็นรูบริคส์ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติ

2.2 ควรทำาการศึกษาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนในระดับเขตพื้นที่

การศึกษา หรือในระดับจังหวัดบึงกาฬทั้งหมด เพื่อจะได้ข้อมูลพื้นฐานในการนำาไปปรับปรุงและ พัฒนานักเรียน

2.3 ควรมีการศึกษาตัวแปรด้านตำาแหน่ง ช่วงอายุของการทำางานว่ามีความสัมพันธ์หรือมี

อิทธิพลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ขั้นพื้นฐาน เพื่อการพัฒนาต่อไป

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 197 ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2566

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 4). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทยจำากัด.

เกษราพรรณ แก้ววิเศษ. (2561). ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและความคิด สร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ในสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 26 [วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].

จุฑามาศ ทองเจียว. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นบูรณาการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา [วิทยานิพนธ์

ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา].

เบญญาภา ประชานันท์, พินิจ ขำาวงษ์ และปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร. (2561). การสำารวจทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตกรุงเทพมหานคร.

รมยสาร, 16(3), 149-165.

ปพิชญา นิ่มพิลา. (2560). การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].

พิมพ์ลภัส บัวศรี. (2560). การสร้างแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].

ภัทราปวีณ์ ศรีสมพันธ์. (2561). การพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 สำาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุตรดิตถ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์].

มณี ผ่านจังหาร. (2564). การพัฒนาแบบทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ ร้อยเอ็ด, มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด].

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อนักเรียนในศตวรรษที่ 21. มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

ศรายุทธ จันทร์สว่าง. (2563). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา. [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). https://www.

scimath.org/ebook-science/item/8923-2018-10-01-01-59-16

สิรินภา กิจเกื้อกูล. (2565). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ด้านทักษะพื้นฐาน

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เครือข่ายกลุ่มโรงเรียน... 198 จรูญลักษณ์ คำาเรือน, อพันตรี พูลพุทธา

สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2556). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. วารสารหน่วยวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 4(1), 1-9.

สำานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ:

พริกหวานกราฟฟิก.

สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). ก้าวแรก การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐาน (Project-Based Learning: PBL). ห้างหุ้นส่วนจำากัด เอ็น. เอ. รัตนะเทรดดิ้ง.

สุมาลี เซ็ม. (2561). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก [วิทยานิพนธ์

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา].

อนงค์ เบ้าชาลี. (2558). การพัฒนาเครื่องมือวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4.

[วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี].

Best, J. W. (1977). Research in education (3rd ed). Prentice Hall.

Colly, K. E. (2006). Understanding ecology content knowledge and acquiring science process skills through project-based science instruction. Science Activities, 43(1), 26-33.

Delors, J. (1998). Learning: The treasure within: Revised edition. Report to UNESCO of the International Commission on Education for the 21st Century. UNESCO.

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจประกันวินาศภัยใน ประเทศไทย ในช่วงก่อนและช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 Factors Affecting the Performance of Non-life Insurance Businesses in Thailand in the Period Before and During the Covid-19 Pandemic

วัลลพ ล้อมตะคุ1, กมลพรรณ ว่องวิกย์การ2, ณัชพล ปันทะวงษ์2, จิราพร เครือมูล2, ณัฐนนท์ คนใหญ่บ้าน2

Wanlop Lomtaku1, Kamonphan Uaongwikkan2, Natchaphon Panthawong2, Jiraphorn Khrueamun2, Nattanon Khonyaiban2

Received: 7 May 2022 Revised: 7 September 2022 Accepted: 14 September 2022

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาถึงสถานการณ์ทั่วไปของธุรกิจประกันวินาศภัย ในประเทศไทย ในช่วงก่อนและช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 และ 2) เพื่อศึกษา ถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทย โดยเก็บรวบรวบ ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิของธุรกิจประกันวินาศภัยจำานวน 56 บริษัท วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ

หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ

ผลการศึกษา พบว่าธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นธุรกิจขนาดเล็กคิดเป็น ร้อยละ 42.86 มีรายได้รวมน้อยกว่า 2,000,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 54.72 มีสินทรัพย์รวมน้อยกว่า 7,900,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 69.81 ซึ่งผลประกอบการอยู่ในช่วงขาดทุนสุทธิน้อยกว่า 50,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 11.32 และมีผลประกอบการอยู่ในช่วงกำาไรสุทธิน้อยกว่า 200,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 41.51

ในส่วนของผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจประกันวินาศภัย ในประเทศไทย พบว่า ธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทย ทั้งในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อ โคโรน่าไวรัส 2019 และในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 มีอัตราส่วนทางการเงิน ที่มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อ โคโรน่าไวรัส 2019 อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจ (0.999) และในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน มี

ผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจ (-0.2) และอัตราการหมุนของสินทรัพย์ มีผลกระทบต่อผล

1 สาขาวิชาการเงินและการลงทุน คณะบริหารธุรกิจและนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

2 นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิตสาขาวิชาการเงินและการลงทุน คณะบริหารธุรกิจและนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

1 School of Business and Communication Arts, University of Phayao

2 Bachelor of Business Administration, School of Business and Communication Arts, University of Phayao

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจประกันวินาศภัย

ในประเทศไทย ในช่วงก่อนและช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อ... 200 วัลลพ ล้อมตะคุ, กมลพรรณ ว่องวิกย์การ, ณัชพล ปันทะวงษ์, จิราพร เครือมูล, ณัฐนนท์ คนใหญ่บ้าน

การดำาเนินงานของธุรกิจ (1.183) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ช่วงก่อนและช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของ เชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจ แตกต่างกัน

คำาสำาคัญ: ผลการดำาเนินงานธุรกิจประกันวินาศภัย, การแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019

Abstract

The objectives of this research were.-1) to study the general situation of non-life insurance businesses in Thailand in the period before and during the Covid-19 pandemic and 2) to study the factors affecting the performance of these businesses in Thailand. Data were collected from secondary sources of 56 insurance companies. The data were analyzed by Pearson ‘s correlation coefficient and multiple regression analysis.

The study found that most (42.86%) of the non-life insurance businesses in Thailand were small businesses. They had overall incomes of less than 2,000,000,000 baht or 54.72%.

They had total assets of less than 7,900,000,000 baht or 69.81%. The operating result in the range of net loss was less than 50,000,000 baht or 11.32%. The operating result in the range of the net profit is less than 200,000,000 baht or 41.51%.

It was found that the financial ratios in non-life insurance businesses in Thailand both before and during the Covid-19 pandemic affected business performance differently. Before the Covid-19 pandemic, the return on assets affected business performance (0.999). However, during the Covid-19 pandemic, the return on investment affected business performance (-0.2) and asset turnover ratio affected business performance (1.183). Therefore, it can be concluded that the period before and during the Covid-19 pandemic affected business performance in different ways.

Keywords: Performance of non-life insurance business, the covid-19 pandemic

บทนำา

ธุรกิจกลุ่มประกันภัย ถือเป็นอีกหนึ่ง หมวดธุรกิจที่มีความสำาคัญต่อการขับเคลื่อน ประเทศ เนื่องจากเป็นสถาบันการเงินที่มีความ สำาคัญต่อการระดมทุนระยะยาวของภาครัฐ และ เอกชน อีกทั้งเป็นเครื่องมือในการบริหารความ เสี่ยง รวมถึงสร้างหลักประกันความมั่นคงให้กับ ชีวิตและทรัพย์สิน ธุรกิจประกันภัยถือได้ว่าเป็น ธุรกิจที่มีความเฉพาะตัวและค่อนข้างที่จะมีความ ซับซ้อน และมีหลายปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ

การดำาเนินธุรกิจ รวมถึงหลักเกณฑ์กำากับดูแล เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งล้วนมีผลต่อการ ตัดสินใจลงทุนในหุ้น (อุษณีย์ ลิ่วรัตน์, 2561) การประกันวินาศภัย เป็นวิธีการจัดการด้านการ เงินวิธีหนึ่งที่ใช้ในการจัดการความเสี่ยงภัย โดย มุ่งที่จะบรรเทาภาระความเสียหายทางการเงินที่

จะเกิดขึ้นกับบุคคลที่เป็นเจ้าของความเสี่ยงภัย ทั้งความเสียหายที่เกิดต่อตนเองหรือภาระผูกพัน หรือความรับผิดชอบที่จะต้องไปชดใช้ความเสีย หายให้กับบุคคลอื่นในสังคม การประกันวินาศภัย

Garis besar

Dokumen terkait