• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะในการนำาผลวิจัยไปใช้

วิธีดำาเนินการวิจัย

1. ข้อเสนอแนะในการนำาผลวิจัยไปใช้

1.1 จากการศึกษาเปรียบเทียบ อัตราส่วนทางการเงินของธุรกิจประกันวินาศภัย ในประเทศไทย ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาด ของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 กับช่วงที่เกิดการ แพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 พบว่า อัตราส่วนทางการเงินของช่วงก่อนเกิดการ แพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 ดีกว่าช่วง ที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 6 อัตราส่วน ได้แก่ อัตราส่วนการประกันภัยต่อ เบี้ยประกันภัยรับ อัตราผลตอบแทนจากการ ลงทุน อัตราเบี้ยประกันรับสุทธิ อัตราการหมุน ของสินทรัพย์ อัตราส่วนหมุนเวียนเบี้ยประกัน ค้างรับ และอัตราส่วนค่าใช้จ่ายในการรับประกัน ดังนั้น ผู้ประกอบการธุรกิจประกันวินาศภัยควร บริหารจัดการในส่วนของเบี้ยประกันรับที่ถือ เป็นรายได้ของธุรกิจ คำานึงถึงความสามารถใน การเรียกเก็บหนี้ การลงทุน การจ่ายเบี้ยประกัน ค่าใช้จ่ายในการรับประกัน และการใช้สินทรัพย์

ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจ มากที่สุดต่อไป

1.2 จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบ ต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจประกันวินาศภัยใน ประเทศไทย พบว่า ธุรกิจประกันวินาศภัย ทั้งใน ช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 และในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อ โคโรน่าไวรัส 2019 มีอัตราส่วนทางการเงินที่

มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานแตกต่างกัน กล่าวคือ ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของ เชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 อัตราผลตอบแทนต่อ สินทรัพย์มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของ ธุรกิจมากที่สุด (0.999) และในช่วงที่เกิดการ

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 211 ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2566

แพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 อัตราผล ตอบแทนจากการลงทุน มีผลกระทบต่อผลการ ดำาเนินงานของธุรกิจมากที่สุด (-0.2) และอัตรา การหมุนของสินทรัพย์ มีผลกระทบต่อผลการ ดำาเนินงานของธุรกิจมากที่สุด (1.183) ดังนั้น ผู้ประกอบการธุรกิจประกันวินาศภัยควรบริหาร จัดการด้านการนำาสินทรัพย์ไปลงทุนให้ไม่เกิดการ สูญเปล่าจากการลงทุน การกู้ยืมให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ทั้งหมด เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจมากที่สุดต่อไป

1.3 ทำาให้ผู้ประกอบการและผู้ลงทุน คาดการณ์ถึงผลกระทบที่มีต่อกิจการได้ล่วงหน้า เพื่อนำาไปใช้ในการตัดสินใจวางแผน และเกิด การลงทุนที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

1.4 นำาอัตราส่วนทางการเงินไปปรับใช้

ในการคิดคำานวณในธุรกิจอื่นๆ เพื่อหาปัจจัยที่มี

ผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจนั้นๆ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ ผลการดำาเนินงานธุรกิจประกันวินาศภัย อื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยทาง ด้านการเมือง

2.2 ควรศึกษาปัจจัยที่ผลกระทบต่อธุรกิจ ประกัน ทั้งธุรกิจประกันชีวิตและประกันวินาศภัย ให้ครอบคลุมธุรกิจประกันมากขึ้น จะทำาให้เห็นถึง ภาพรวมของธุรกิจประกันได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

2.3 ควรศึกษาเปรียบเทียบขนาด ของธุรกิจประกันภัยที่มีขนาดแตกต่างกัน เช่น ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ เป็นต้น

เอกสารอ้างอิง

กรุงเทพประกันภัย. (2561). รายงานประจำาปี 2561 บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำากัด (มหาชน). กรุงเทพ ประกันภัย จำากัด (มหาชน).

กรุงเทพประกันภัย. (2562). รายงานประจำาปี 2562 บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำากัด (มหาชน). กรุงเทพ ประกันภัย จำากัด (มหาชน). กรุงเทพประกันภัย จำากัด (มหาชน).

กรุงเทพประกันภัย. (2563). รายงานประจำาปี 2563 บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำากัด (มหาชน). กรุงเทพ ประกันภัย จำากัด (มหาชน)

ชลิตา แควกลาง. (2552). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจประกันภัย [วิทยานิพนธ์

ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี].

ชวาล แพรัตกุล. (2549). แนวทางการเลือกใช้สถิติในการวิจัย. http://www.watpon.in.th/stat/statch60.

ทาริกา แย้มขะมัง, ณัฐนรี บุญเขตร์ และสุนิษา ส่งศิลปวัฒน์. (2560). การวิเคราะห์และเปรียบเทียบงบhtm การเงินก่อนและหลังเกิดเหตุการณ์อุทกภัยปี 2554 ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์

แห่งประเทศไทย กรณีศึกษากลุ่มอุตสาหกรรมสินค้าอุตสาหกรรมในหมวดธุรกิจยานยนต์.

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14 (pp. 3565-3571). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วิทยาเขตกำาแพงแสน.

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการดำาเนินงานของธุรกิจประกันวินาศภัย

ในประเทศไทย ในช่วงก่อนและช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อ... 212 วัลลพ ล้อมตะคุ, กมลพรรณ ว่องวิกย์การ, ณัชพล ปันทะวงษ์, จิราพร เครือมูล, ณัฐนนท์ คนใหญ่บ้าน

พัชร์นันธ์ ดวงมงคลเจริญ. (2561). ศึกษาการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินเพื่อศึกษาประสิทธิภาพ การดำาเนินงานในธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ขนาดใหญ่ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย [การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์].

ศิริชัย พงษ์วิชัย. (2547). การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ (พิมพ์ครั้งที่ 13). สำานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

สำานักงานคณะกรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย คปภ. (2564). ประกันวินาศภัย.

สำานักงานคณะกรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย คปภ.

อุษณีย์ ลิ่วรัตน์. (2561). หนังสือชุด วิเคราะห์หุ้นราย Sector หุ้นกลุ่ม ประกันภัย. สำานักพิมพ์บริษัท พริ้นซิตี้ จำากัด.

การศึกษาความต้องการด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษระหว่างผู้พูดที่ไม่ใช่เจ้าของ ภาษาในสถานการณ์การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในบริบททางวิชาการ An Investigation of Communication Needs Experienced by Non-native Speakers of English as a Lingua Franca Academic Context

ธนพร คำาวรรณ์1 Tanaporn Khamwan1

Received: 22 June 2022 Revised: 7 November 2022 Accepted: 24 November 2022

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องนี้มุ่งศึกษาปัญหาด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษระหว่างผู้พูดที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา ในสถานการณ์การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในบริบททางวิชาการ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้

คืออาจารย์ชาวไทย จำานวน 2 คน นักเรียนไทย จำานวน 15 คน นักเรียนกัมพูชา จำานวน 15 คนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ที่ลงทะเบียนเรียนชั้นเรียนพิเศษในมหาวิทยาลัย ซึ่งนักเรียนทั้งหมดใช้ภาษาอังกฤษ เป็นภาษากลางในการสื่อสารในบริบททางวิชาการ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ และใช้วิธีกำาหนด รหัสข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่านักเรียนชาวไทยและชาวกัมพูชา มีความต้องการ ด้านการสื่อสารคล้ายกัน 2 อย่างคือ นักเรียนมีความรู้ด้านภาษาอย่างจำากัดซึ่งประกอบด้วยความต้องการ การแก้ปัญหาด้านความเข้าใจ การใช้ไวยากรณ์ผิดพลาดรวมถึงการมีความรู้ด้านคำาศัพท์จำากัด และ อีกความต้องการคือการมีอคติทางด้านสังคมและวัฒนธรรมจึงทำาให้การสื่อสารไม่ประสบผลสำาเร็จ คำาสำาคัญ: ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง, ปัญหาด้านการสื่อสาร, กลวิธีด้านการสื่อสาร

Abstract

This study investigates common communication needs encountered in an ELF academic context. The participants consisted of two Thai professors, fifteen Thai, and fifteen Cambodian students who studied in grade 12 and enrolled at the university where ELF was used in an academic context. A semi-structured interview was used to collect daaitwhich was analyzed by coding method. The findings revealed two primary common communication needs shared between Thai students and Cambodian student: There are -1) limited linguistic knowledge, which contained three aspect;: comprehension skill, grammatical errors, and inadequate vocabulary,

1 อาจารย์ประจำา, คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว

1 Lecturer, Faculty of Science and Social Sciences, Burapha University, Sakaeo Campus

การศึกษาความต้องการด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษระหว่างผู้พูด

ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษาในสถานการณ์การใช้ภาษาอังกฤษ... 214 ธนพร คำาวรรณ์

Garis besar

Dokumen terkait