• Tidak ada hasil yang ditemukan

Instructions for the Authors)

4. คำาสำาคัญหรือคำาหลัก (Keyword) ให้ระบุทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ใส่ไว้ท้ายบทคัดย่อ ของแต่ละภาษา

5. บทนำา (Introduction) เป็นส่วนของเนื้อหาที่บอกความเป็นมาและเหตุผลนำาไปสู่การศึกษา วิจัย ให้ข้อมูลทางวิชาการพร้อมทั้งจุดมุ่งหมายที่เกี่ยวข้องอย่างคร่าวๆ และมีวัตถุประสงค์ของการศึกษา และการวิจัยนั้นด้วย

6. วิธีการศึกษา ให้ระบุรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งที่นำามาศึกษา จำานวนลักษณะเฉพาะ ของตัวอย่างที่ศึกษา ตลอดจนเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษา อธิบายวิธีการศึกษา หรือ แผนการทดลองทางสถิติ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล

7. ผลการศึกษา (Results) แจ้งผลที่พบตามลำาดับหัวข้อของการศึกษาวิจัยอย่างชัดเจนได้ใจ ความ ถ้าผลไม่ซับซ้อนไม่มีตัวเลขมาก ควรใช้คำาบรรยาย แต่ถ้ามีตัวเลขมาก ตัวแปรมาก ควรใช้ตาราง แผนภูมิแทน ไม่ควรมีเกิน 5 ตารางหรือแผนภูมิ ควรแปรความหมายและวิเคราะห์ผลที่ค้นพบ และสรุป เปรียบเทียบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้

8. วิจารณ์และสรุปผล (Discussion and conclusion) ชี้แจงว่าผลการศึกษาตรงกับ วัตถุประสงค์ของการวิจัย หรือแตกต่างไปจากผลงานที่มีผู้รายงานไว้ก่อนหรือไม่ อย่างไร เหตุผลใดจึง เป็นเช่นนั้น และมีพื้นฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และให้จบด้วยข้อเสนอแนะที่จะนำาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์

หรือทิ้งประเด็นคำาถามการวิจัย ซึ่งเป็นแนวทางสำาหรับการวิจัยต่อไป

9. ตาราง รูป รูปภาพ และแผนภูมิ ควรคัดเลือกเฉพาะที่จำาเป็น แยกออกจากเนื้อเรื่องโดย เรียงลำาดับให้สอดคล้องกับคำาอธิบายในเนื้อเรื่อง และต้องมีคำาอธิบายสั้นๆ แต่สื่อความหมาย ได้สาระ ครบถ้วน ในกรณีที่เป็นตาราง คำาอธิบาย ต้องอยู่ด้านบน ในกรณีที่เป็นรูปภาพ หรือแผนภูมิ คำาอธิบาย อยู่ด้านล่าง

10. กิตติกรรมประกาศ ระบุสั้นๆ ว่าได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย และความช่วยเหลือจากองค์กร ใดหรือใครบ้าง

11. เอกสารอ้างอิง (References) สำาหรับการพิมพ์เอกสารอ้างอิง ทั้งเอกสารอ้างอิงที่เป็น ภาษาไทย และภาษาอังกฤษโดยมีหลักการทั่วไป คือ เอกสารอ้างอิงต้องเป็นที่ถูกตีพิมพ์และได้รับการ ยอมรับทางวิชาการ ไม่ควรเป็นบทคัดย่อ และไม่ใช่การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล ถ้ายังไม่ได้ถูกตีพิมพ์

ต้องระบุว่า รอการตีพิมพ์ (in press) 11.1 การเขียนเอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิงให้เขียนตามรูปแบบ “Publication Manual of the American Psychilogical Association” (7th Edition)

1. หนังสือ (ในรูปแบบรูปเล่ม)

ชื่อ-สกุล. (ปีพิมพ์). ชื่อเรื่อง(พิมพ์ครั้งที่). สำานักพิมพ์.

ตัวอย่าง : 

วิธาน ฐานะวุฑฒ์. (2547). หัวใจใหม่-ชีวิตใหม่. ปิติศึกษา.

2. บทความในวารสารอิเล็กทรอนิกส์

ชื่อ-สกุล. (ปี พิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, เลขของปีที่ (เลขของฉบับที่), เลขหน้า. /https://doi.org/

เลขdoi ตัวอย่าง : 

มานะ สินธุวงษานนท์. (2549). ปัจจัยส่งเสริมการจัดการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพนักเรียนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารครุศาสตร์, 18(2), 115-116.

3. รายงานการประชุมเชิงวิชาการ (Proceeding)

ชื่อ-สกุล. (ปี). ชื่อบทความ. ใน/ชื่อบรรณาธิการ (บ.ก.), ชื่อหัวข้อการประชุม. ชื่อการประชุม (น. เลขหน้า).

ฐานข้อมูล.

ตัวอย่าง : 

พัชราภา ตันติชูเวช. (2553). การศึกษาทั่วไปกับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร์ ศึกษาโดยเปรียบเทียบกับประเทศไทย. ใน ศิริชัย กาญจนวาสี (บ.ก.), การขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาไทย. การประชุมวิชาการและเผยแพร่ ผลงานวิจัยระดับชาติ

(น. 97-102). คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

4. หนังสือพิมพ์และหนังสือพิมพ์ออนไลน์

ชื่อ-สกุล. (ปี, /วัน/เดือน). ชื่อคอลัมน์. ชื่อหนังสือพิมพ์, เลขหน้า.

ตัวอย่าง : 

พงษ์พรรณ บุญเลิศ. (2561, 15 สิงหาคม). เดลินิวส์วาไรตี้: ‘สื่อพิพิธภัณฑ์’ เชื่อม ยุคสมัย เข้าถึงด้วย

‘มิติใหม่’ อินเทรนด์. เดลินิวส์, 4.

5. หนังสือ (ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์) ชื่อ-สกุล. (ปีพิมพ์). ชื่อเรื่อง (พิมพ์ครั้งที่). URL ตัวอย่าง : 

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำาหรับเด็กอายุต่ำากว่า 3-5 ปี. http://drive.google.com/file/d/1HiTwiRh1Er73h VYIMh1cYWzQiaNl_Vc/view

Garis besar

Dokumen terkait