• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะ

1. จ�กผลก�รวิจัย พบว่� กลุ่มตัวอย่�ง ส่วนใหญ่ที่ใช้ง�นแอปพลิเคชัน TikTok เป็นเพศ หญิง ที่มีอ�ยุในช่วง 18-25 ปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็น นักศึกษ�/นักเรียน ดังนั้น นักก�รตล�ดส�ม�รถ ทำ�ก�รสื่อส�รก�รตล�ดผ่�นช่องท�งแอปพลิเคชัน TikTok เพื่อให้เข้�ถึงผู้บริโภคกลุ่มนี้

2. จ�กผลก�รวิจัย พบว่� ก�รรับรู้คุณค่�

แบรนด์ของ HUAWEI Watch Fit ผ่�นก�รสื่อส�ร ก�รตล�ดบนแอปพลิเคชัน TikTok ในมุมมอง ของผู้บริโภคภ�พรวมแต่ละด้�น ด้�นก�รรู้จัก ชื่อตร�สินค้� (Brand Awareness) มีระดับก�ร รับรู้ม�กที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นว่�ก�รจัดแคมเปญ ท�งแอปพลิเคชัน TikTok นั้นเหม�ะสำ�หรับก�ร ส่งเสริมในด้�นก�รรู้จักชื่อตร�สินค้� (Brand Awareness) ม�กกว่�ด้�นอื่นๆ ดังนั้นถ้�ต้องก�ร ส่งเสริมในด้�นคุณภ�พที่ถูกรับรู้ ด้�นก�รเชื่อม โยงตร�สินค้� ด้�นคว�มภักดีต่อตร�สินค้� หรือ ม�กกว่�นั้นควรใช้เครื่องมือสื่อส�รก�รตล�ดอื่นๆ ร่วมด้วย

3. จ�กผลก�รวิจัย พบว่� กลุ่มตัวอย่�ง ส่วนใหญ่มีคว�มสนใจเนื้อห�หรือคอนเทนต์ใน เรื่องของ Performance (คว�มส�ม�รถ, ตลก) ม�กที่สุด ดังนั้น ในอน�คตห�กแบรนด์ต้องก�ร ทำ�ก�รสื่อส�รก�รตล�ดในรูปแบบของแคมเปญ อีก ควรสร้�งรูปแบบของแคมเปญให้ตรงกับคว�ม สนใจและพฤติกรรมของผู้บริโภค รวมถึงกระแส นิยมต่�งๆ ในช่วงเวล�นั้น

4. จ�กผลก�รวิจัย พบว่� ก�รรับรู้คุณค่�

แบรนด์ของ HUAWEI Watch Fit ผ่�นก�ร สื่อส�รก�รตล�ดบนแอปพลิเคชัน TikTok ใน ด้�นก�รรู้จักชื่อตร�สินค้� (Brand Awareness) มีระดับก�รรับรู้ม�กที่สุดในเรื่องของก�รใส่

#HUAWEIWatchFit ในแคมเปญ ทำ�ให้ผู้บริโภค ส�ม�รถรู้จักชื่อตร�สินค้�และจดจำ�ได้ม�กขึ้น เนื่องจ�กก�รติด # (แฮชแท็ก) เป็นเครื่องมือเสริม ที่เพิ่มคว�มน่�สนใจให้กับโพสต์ และทำ�ให้ส�ม�รถ ห�โพสต์อื่นๆ ที่มีแฮชแท็กเดียวกันได้ง่�ยขึ้น ดังนั้นควรมีก�รคิด # (แฮชแท็ก) ใหม่เรื่อยๆ สำ�หรับก�รสื่อส�รก�รตล�ดในครั้งต่อๆ ไป

กิตติกรรมประกาศ

ค ณ ะ ผู้ วิ จั ย ข อ ข อ บ คุ ณ วิ ท ย � ลั ย นิเทศศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยรังสิตที่สนับสนุนใน ก�รศึกษ�วิจัยครั้งนี้รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ช่วยทำ�ให้ง�นวิจัยชิ้นนี้สำ�เร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

เอกสารอ้างอิง

ก�ญจน� ก�ญจนสุฬ. (2563). พัฒนาการอินตอร์เน็ตไทย. https://www.thnic.co.th/th/news/36/

จิรศักดิ์ ช�พรมม�. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการฟิตเนสเซ็นเตอร์ที่เปิดให้บริการ 24 ชั่วโมงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทย�นิพนธ์บริห�รธุรกิจมห�บัณฑิต, มห�วิทย�ลัยธรรมศ�สตร์.

จิรัฏฐ์ พรหมดิเรก. (2558). แฮชแท็กรณรงค์: ความคาดหวัง การเปิดรับ และการมีส่วนร่วมของผู้ใช้.

วิทย�นิพนธ์ว�รส�รศ�สตรมห�บัณฑิต, มห�วิทย�ลัยธรรมศ�สตร์.

นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2557). การสื่อสารการตลาด (พิมพ์คร้ังที่ 2). มห�วิทย�ลัยเกษตรศ�สตร์.

พรรณพิล�ส กุลดิลก. (2563). กลยุทธ์ก�รสื่อส�รตร�สินค้�และพฤติกรรมก�รสื่อส�รของผู้ใช้ง�น แอปพลิเคชัน TikTok. วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า, 6(2), 35-51.

Aaker, D.(1996). Building strong brand. The Free Press.

AD ADDICT. (2019). สรุป 5 รูปแบบโฆษณาของ “TikTok” โอกาสใหม่ที่นักโฆษณาทุกคนต้องรู้ไว้

เพื่อให้แบรนด์ได้สร้างสรรค์การสื่อสารที่แปลกใหม่. https://adaddictth.com/knowledge/

tiktok-adformat-2019.

Cronbach, L.J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). Harper Collins Publishers.

Saputra, D. (2017). AIDMA Model & AISAS model in digital marketing strategy. bbs.binus.ac.id/

Godey, B., Manthiou, A., Pederzoli, D., Rokka, J., Aiello, G., Donvito, R., & Singh, R. (2016).

Social media marketing efforts of luxury brands: Influence on brand equity and consumer behavior. Journal of Business Research, 5833-5841.

Harris, I. (2014). Cultural cues embedded within hashtags: Effects on identification and advertising outcomes. Dissertation, The Ohio State University.

Pot, J. (2013). #Clueless? everything you need to know about Twitter hashtags. http://www.

makeuseof.com/tag/clueless-everything-you- need-toknow-about-twitter-hashtags.

Solomon. (2009). M.R. consumer behavior: Buying, having and being (8th ed). Prentice Hall.

STEPS Academy. (2020). 5 ประเภท #Hashtag ทำาการตลาดบนโซเชียลมีเดียให้ปัง. https://

stepstraining.co/social/5-types-hashtag-use.

Workpoint today. (2563). TikTok ยูนิคอร์นแสนล้านที่เติบโตบนพื้นฐานของความสนุก. https://

workpointtoday.com/tiktok-success-story/

Techfeedthai. (2563). หัวเว่ยส่งแคมเปญ “MOVE WITH HUAWEI WATCH FIT” ชวนมาออกกำาลัง ในติ๊กต็อกชิงรางวัลสมาร์ทวอต์ชท์รุ่นใหม่ล่าสุด. https://techfeedthai.com/2020/09/12.

Wittawin, A. (2563). TikTok คืออะไร. https://www.thumbsup.in.th/tiktok-trends-2020.

ชัยพร พงษ์พิสันต์รัตน์1 Chaiporn Pongpisanrat1

Received: 26 November 2021 Revised: 10 February 2022 Accepted: 3 March 2022

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) เพื่อเปรียบเทียบความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตมหาวิทยาลัย มหาสารคามจำาแนกตามเพศและกลุ่มคณะ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยมหาสารคามทุกชั้นปีที่กำาลังศึกษาในปีการศึกษา 2563 จำานวน 1,080 คน โดยใช้การ สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ตามกลุ่มคณะ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความเหนื่อยหน่ายในการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิติทดสอบเอฟ

ผลการวิจัยพบว่า

1. ความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาตรีโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( =3.70, S.D.=0.60)

2. นิสิตระดับปริญญาตรีเพศชายและเพศหญิงมีความเหนื่อยหน่ายในการเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

3. นิสิตระดับปริญญาตรีในแต่ละกลุ่มคณะแตกต่างกันมีความเหนื่อยหน่ายในการเรียนแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คำาสำาคัญ: ความเหนื่อยหน่ายในการเรียน ความเหนื่อยหน่าย นิสิตระดับปริญญาตรี

Abstract

The purposes of this research were 1) to study the level of learning burnout of Mahasarakham University students and 2) to compare the learning burnout of Mahasarakham University students when classified by gender and faculty. The subjects for the study were 1,080 undergraduate students of Mahasarakham University who studied in the academic year 2020.

1 อาจารย์ประจำา, ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 081-0562999, chaiporn.p@msu.ac.th

1 Lecturer, Department of Educational Psychology and Guidance, Mahasarakham University, 081-0562999, chaiporn.p@msu.ac.th

Dokumen terkait