• Tidak ada hasil yang ditemukan

สรุปผล

ผลก�รศึกษ�เรื่อง กลวิธีก�รนำ�เสนอ ตัวละครในนวนิย�ยอิงประวัติศ�สตร์เรื่อง ข้�บดินทร์ สรุปได้ดังนี้

กลวิธีก�รนำ�เสนอตัวละครใช้ก�รบรรย�ย ตัวละครท�งตรงและตัวละครท�งอ้อม โดยก�ร บรรย�ยตัวละครท�งตรงแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ

1. ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละครโดย ผู้เขียนหรือผู้ประพันธ์ จะเป็นผู้รู้แจ้งเกี่ยวกับตัว ละครโดยอ�จจะรู้ลักษณะนิสัย หรือแม้กระทั่ง คว�มคิดของตัวละครนั้นๆ ได้

2. ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละครอื่นๆ จะเห็นตัวละครในลักษณะที่แตกต่�งกันต�มช่วง เวล� อ�ยุ หรือเพศ

ก�รบรรย�ยลักษณะท�งอ้อมแบ่งออกได้

3 ประเภท คือ

1. ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละคร ด้วยก�รกระทำ�ของตัวละครนั้น เป็นก�รบรรย�ย ลักษณะตัวละครผ่�นก�รกระทำ�ของตัวละครเอง เพื่อให้ผู้อ่�นส�ม�รถตีคว�มเองได้

2. ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละครจ�ก บทสนทน�ของตัวละครโดยอ�จกล่�วถึงบุคคลที่

3 หรืออ�จกล่�วถึงตนเอง ในบทสนทน�จะบอก ถึงลักษณะของผู้ที่กล่�วถึงและผู้ที่เป็นผู้กล่�วได้

เป็นอย่�งดี

3. ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละครจ�ก คว�มคิดของตัวละคร เป็นก�รถ่�ยทอดลักษณะ ต่�งๆ ของตัวละครผ่�นท�งคว�มคิดของตัวละคร เอง

อภิปรายผล

จ�กก�รศึกษ�กลวิธีก�รนำ�เสนอตัว ละครในนวนิย�ยอิงประวัติศ�สตร์เรื่องข้�บดินทร์

ผู้ศึกษ�พบว่�ในนวนิย�ยอิงประวัติศ�สตร์เรื่อง ข้�บดินทร์ ของวรรณวรรธน์ มีก�รใช้ก�รบรรย�ย ลักษณะของตัวละครท�งตรงม�กที่สุด เพร�ะใน นวนิย�ยอิงประวัติศ�สตร์เรื่องข้�บดินทร์ ของ วรรณวรรธน์ ต้องก�รให้ผู้อ่�นส�ม�รถรับรู้ถึง ลักษณะที่ผู้ประพันธ์ต้องก�รถ่�ยทอดอย่�ง รวดเร็ว ไม่ต้องตีคว�มเพิ่มเติม สอดคล้องกับ ก�รใช้กลวิธีก�รนำ�เสนอตัวละครของพัชร�วลี

จินนิกร (2559) ได้แก่ 1. ก�รบรรย�ยลักษณะของ ตัวละครท�งตรง ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละคร โดยผู้เขียน ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละครโดย ตัวละครอื่นๆ 2. ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละคร ท�งอ้อม ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละครจ�ก ก�รกระทำ�ของตัวละคร ก�รบรรย�ยลักษณะของ ตัวละครจ�กบทสนทน�ของตัวละคร ก�รบรรย�ย ลักษณะของตัวละครจ�กคว�มคิดของตัวละคร 3. ก�รตั้งชื่อตัวละคร 4. ก�รใช้คู่ตรงข้�ม

5. ก�รใช้ภ�พพจน์ และ 6.ก�รใช้สัญลักษณ์

แต่ผู้ศึกษ�พบก�รใช้กลวิธีก�รนำ�เสนอตัวละคร เพียงบ�งส่วน ได้แก่ 1. ก�รบรรย�ยลักษณะของ ตัวละครท�งตรง ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละคร โดยผู้เขียน ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละครโดย ตัวละครอื่นๆ 2. ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละคร ท�งอ้อม ก�รบรรย�ยลักษณะของตัวละครจ�ก ก�รกระทำ�ของตัวละคร ก�รบรรย�ยลักษณะของ ตัวละครจ�กบทสนทน�ของตัวละคร ก�รบรรย�ย ลักษณะของตัวละครจ�กคว�มคิดของตัวละคร 3. ก�รตั้งชื่อตัวละคร 4. ก�รใช้คู่ตรงข้�ม และที่ศึกษ�

ไม่พบ คือ ก�รใช้ภ�พพจน์ และก�รใช้สัญลักษณ์

ที่ไม่พบก�รใช้กลวิธีก�รนำ�เสนอตัวละครเหล่�นี้

เพร�ะว่�ในนวนิย�ยอิงประวัติศ�สตร์เรื่อง ข้�บดินทร์ ของวรรณวรรธน์ เน้นไปที่ก�ร บรรย�ยลักษณะของตัวละคร เพร�ะลักษณะ ของนวนิย�ยเป็นนวนิย�ยอิงประวัติศ�สตร์

แ ล ะ เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เ อ ก ส � ร ท � ง ประวัติศ�สตร์จึงไม่อ�จบิดเบือนได้ เช่นเดียวกับ วรมน เหรียญสุวรรณ (2544) ที่ได้ศึกษ�เรื่อง มิติสถ�นที่ในนวนิย�ยอิงประวัติ ศ�สตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์ศึกษ�จ�กง�นประพันธ์ของ

“ทมยันตี” จำ�นวน 4 เรื่อง ได้แก่ คู่กรรม ร่มฉัตร ทวิภพ และคู่กรรม 2 พบว่� ผู้ประพันธ์สร้�ง ตัวละครขึ้นจ�กจินตน�ก�รให้เข้�ไปดำ�เนินชีวิต ในสถ�นที่ท�งประวัติศ�สตร์ โดยอ�ศัยข้อมูล เหตุก�รณ์จ�กประวัติศ�สตร์ม�อ้�งอิงเพื่อใช้

ในก�รเล่�เรื่อง ดำ�เนินเรื่อง โดยใช้สถ�นที่

เป็นฉ�กในก�รกำ�หนดโครงเรื่องซึ่งสร้�งคว�ม สมจริงของตัวละครและสอดคล้องกับคว�ม สมจริงของประวัติศ�สตร์ ช่วยให้ผู้อ่�นเข้�ใจ บรรย�ก�ศของเหตุก�รณ์ในประวัติศ�สตร์ได้

อย่�งชัดเจนม�กขึ้น รวมถึงสะท้อนคว�มคิด ของนักประพันธ์ด้วย

เอกสารอ้างอิง

ธัญญ� สังขพันธ�นนท์. (2539). วรรณกรรมวิจารณ์. น�คร.

พัชร�วลี จินนิกร. (2559). ศึกษาภาพลักษณ์ของตัวละครหญิงในวรรณกรรมเรื่องผู้ชนะสิบทิศ.

วิทย�นิพนธ์ศิลปศ�สตรมห�บัณฑิต ส�ข�ภ�ษ�ไทย, มห�วิทย�ลัยบูรพ�.

วนิต� ดิถียนต์. (2539). คุณค่�ของนวนิย�ยอิงประวัติศ�สตร์” เอกสารในการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง แรงดึงของอดีตและแรงรุกของอนาคตในวรรณกรรม การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมไทย และอินเดีย ศูนย์อินเดียศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วรรณวรรธน์ . (2552ก). ข้าบดินทร์ เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). บ้�นวรรณกรรม.

วรรณวรรธน์ . (2552ข). ข้าบดินทร์ เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 5). บ้�นวรรณกรรม.

วรมน เหรียญสุวรรณ. (2548). มิติสถานที่ในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ศึกษา จากงานประพันธ์ ของ “ทมยันตี”. วิทย�นิพนธ์ศิลปศ�สตรมห�บัณฑิต, มห�วิทย�ลัยร�ชภัฏ สวนดุสิต.

บูรณจิตร แก้วศรีมล

1

Dokumen terkait