• Tidak ada hasil yang ditemukan

ตามรอยพระพุทธศาสนาเขาสูเมืองแพร

Dalam dokumen ฉบับสมบูรณ์ (Halaman 133-141)

1. ความเปนมาของเมืองแพร เมืองแพรเปนเมืองเกาเมืองหนึ่งในเขตทางภาคเหนือ ตอนบนของประเทศไทย มีภูมิประเทศเปนที่ราบระหวางภูเขา โดยมีทิวเขาลอมรอบทั้งสี่ทิศ อุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรปาไมทางธรรมชาติ มีแมน้ําสายหลัก สําคัญไหลผาน คือแมน้ํายม เปนลําน้ําที่สําคัญที่สุดของเมืองแพร โดยมีตนกําเนิดมาจากเทือกเขาผีปนน้ําอําเภอปง จังหวัด พะเยา เมืองแพรในอดีตเคยเปนนครรัฐขนาดเล็ก แตปจจุบันเมืองแพรกลายเปนศูนยกลาง การคมนาคมขนสงทางรถยนต ที่สําคัญแหงหนึ่งของภาคเหนือที่ติดตอไปยังจังหวัดนาน พะเยา เชียงราย ลําปาง ลําพูน เชียงใหม จึงเรียกจังหวัดแพรวาเปนประตูสูลานนาจากการ ศึกษาทางโบราณคดี พบรองรอยการอยูอาศัยของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร มีการคนพบ แหลงโบราณคดีแหงใหมในถ้ําปูมันตาหมี ในเขตบานนาตอง ตําบลชอแฮ อําเภอเมืองแพร

เมื่อชวงตน พ.ศ. 2552 พบหลักฐานทางโบราณคดี ประเภทเครื่องมือกะเทาะ เครื่องมือหินขัด เศษภาชนะดินเผา และโครงกระดูกมนุษยโบราณ และมีการกําหนดอายุทางวิทยาศาสตร ไดวา มีอายุไมต่ํากวา 4,500 ปมาแลว ซึ่งการดําเนินการครั้งนี้ถือวาเปนการขุดคนทางโบราณคดี

ครั้งแรกในพื้นที่แองแพร (องคการบริหารสวนจังหวัดแพร, 2559, น. 18) สันนิษฐานวาใน ชุมชนเมืองแพรคงจะมีผูคนที่อยูอาศัยมากอนประวัติศาสตรอยูแบบไมเปนหลักแหลง คงจะเปน เหมือนยุคเดียวกับคนในสมัยกอนชมพูทวีปในอินเดียสมัยกอน

สําหรับการสรางเมืองแพรตามประวัติไมมีการจารึก ไมมีหลักฐานเกา วาสรางขึ้นในสมัยใด จึงตองอาศัยหลักฐานของเมืองอื่น เชน พงศาวดารโยนก ตํานานเมืองเหนือ ตํานานการสราง พระธาตุลําปางหลวง และศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงมหาราช เปนตน ชื่อเมืองแพรที่ปรากฏ ในหลักฐานตาง ๆ มีเพียงเล็กนอย จากการศึกษาประวัติการตั้งอาณาจักรลานนา พบวา ในระยะแรกดินแดนนี้มีนครรัฐอิสระกอตั้งขึ้นมากอนการตั้งอาณาจักรลานนา เชน เมืองพะเยา

เมืองนาน เมืองลําพูน เมืองลําปาง เมืองแพร เปนตน เมืองตาง ๆ เหลานี้ชาวเมืองมี

ความสัมพันธไปมาหาสูกัน การเริ่มเขามาตั้งถิ่นฐานของคนเมืองแพร ในที่ราบลุมแมน้ํายม ประมาณ พ.ศ. 1200 - 1250 เมืองแพรในยุคเริ่มตนคงจะมีความผูกพันกับแควนเงินยาง - เชียงแสน พรอม ๆ กับการติดตอสัมพันธกับแควนทวาราวดีที่อยูทางใต และกําลังขยายอิทธิพล ทางการเมืองขึ้นมาทางภาคเหนือโดยมี หริภุญไชย เปนฐานกําลังสําคัญ ดังนั้นในเวลาตอมา จึงปรากฎวาเมืองแพรถูกผนวกเขาไปรวมกับหริภุญไชยชื่อเมืองแพร จึงเริ่มปรากฏในตํานาน เมืองเชียงแสนในชวง พ.ศ.1620 – 1720 (องคการบริหารสวนจังหวัดแพร, 2559, น. 2) การกอตั้งชุมชนหรือบานเมืองสวนใหญในภาคเหนือมักปรากฏชื่อบานเมืองนั้นในตํานาน เรื่องเลาหรือจารึกตลอดจนหลักฐานเอกสารพื้นเมืองของเมืองนั้น ๆ แตสําหรับเมืองแพรนั้น แตกตางออกไปเนื่องจากไมมีหลักฐานที่เกี่ยวของหลักฐานที่เกี่ยวของโดยตรงจึงมีที่มาของชื่อ

เมืองจากหลักฐานอื่น ดังนี้ (คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ

ในคณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, 2543, น. 75)

1) เมืองพล นครพลหรือพลรัฐนคร เปนชื่อเมืองเกาดั้งเดิมที่สุดที่พบในตํานาน เมืองเหนือฉบับใบลาน พ.ศ. 1824 กลาวไวตอนหนึ่งวา เจาเมืองลําปางไดสงคนมาติดตอ เจานครพลใหไปรวมงานนมัสการและฉลองวัดพระธาตุลําปางหลวง ตอนหนึ่งไดกลาวไวใน ตํานานพระธาตุ เมื่อศึกษาตําแหนงที่ตั้งของนครพลตามตํานานดังกลาวพบวาคือเมืองแพร

ปจจุบันชื่อพลนครปรากฏเปนชื่อวิหารในวัดหลวง ตําบลในเวียง อําเภอเมืองแพร โดยเชื่อวา วัดนี้เปนวัดที่สรางมาพรอมกับการสรางเมืองแพรและเจาเมืองแพรใหความอุปถัมภมาตลอด จนหมดยุคการปกครองโดยเจาเมือง

2) เมืองโกศัยนคร เปนชื่อปรากฏในพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน ใชเรียก เมืองแพรในสมัยขอมเรืองอํานาจ ที่ชื่อเมืองในอาณาจักรลานนาเปลี่ยนเปนภาษาบาลีตามความ นิยมในยุคนั้น เชน นานเปนนันทบุรี ลําพูนเปนหริภุญไชย ลําปางเปนเขลางคนคร เปนตน ชื่อเมืองโกศัย นาจะมาจากชื่อดอยที่เปนที่ตั้งองคพระธาตุชอแฮ ซึ่งเปนพระธาตุศักดิ์สิทธิ์

คูบานคูเมืองแพร คือ ดอยโกสิยธชัคบรรพต หมายถึง ดอยแหงผาแพร

3) เมืองแพล เปนชื่อที่ปรากฏในศิลาจารึกพอขุมรามคําแหงมหาราชหลักที่ 1 ดานที่ 4 โดยคําวา แพล นาจะมาจากศรัทธาของชาวเมืองที่มีตอพระธาตุชอแพรหรือชอแฮที่

สรางขึ้นภายหลังการสรางเมืองตอมาจึงไดเรียกชื่อเมืองของตนวา เมืองแพล

4) เมืองแพร เปนชื่อที่คนไทยในอาณาจักรสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยาใชเรียก เมืองแพล และกลายเสียงเปนแพรหรือแพร สมัยกรุงศรีอยุธยาชื่อเมืองแพรปรากฏใน ประวัติศาสตร เมื่อเกิดสงครามระหวางอยุธยาและลานนา กองทัพอยุธยาเดินทัพผานชอง เขาพลึงเพื่อไปตีเชียงใหม

124 Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 6 No. 2 (July–December 2020)

5) เมืองแป เปนชื่อที่ชาวแพรใชเรียกชื่อเมืองของตนดวยภาษาคําเมือง ความหมายของคําวา “แป” นาจะมาจากคําวาแพรแตกลางเสียงตัว พ เปน ป หมายถึง การแพรกระจายออกไปเปนจํานวนมากของผูคน ซึ่งสวนหนึ่งนิยมออกไปทํามาหากิน ตั้งถิ่นฐานยังเมืองอื่น

2. การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูเมืองแพร เมืองแพรในสมัยกอนประวัติศาสตร

ตามหลักฐานที่กลาวถึงความเชื่อในพระศาสนานั้นยังไมมีปรากฏเปนหลักฐาน แตเดิมจึงมีความ เชื่อวาผูคนในสมัยนั้น คงจะมีการนับถือธรรมชาติ เชน ภูเขา ถ้ํา ปาไม ลําธาร หวย หนอง คลองบึง แมน้ํา ฯลฯ ตลอดจนถึงการนับถือผีบรรพบุรุษ ผีปา ผีภูเขา ผีตางๆ โดยมีความเชื่อวา เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์นาเคารพนับถือและพากันปฏิบัติสืบตอกันมา ตอมาไดมีการเผยแผ

พระพุทธศาสนาเขามาสูเมืองแพร โดยสันนิษฐานวาพระพุทธศาสนาเขาสูเมืองแพร ในสมัย อาณาจักรนานเจา แผขยายจากเมืองเชียงแสน ไชยบุรี และเวียงพางคํา จนมาถึงเมืองแพร

ประมาณหลังป พ.ศ.1300 เปนพระพุทธศาสนาเถรวาทยุคดั้งเดิม คือ ยุคที่ 1 ที่เขามายัง ดินแดนสุวรรณภูมิ เมื่อราว พ.ศ.235 ซึ่งเปนพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบพระเจาอโศก มหาราช ไดทรงสงสมณทูตไปเผยแผยังดินแดนสุวรรณภูมิ อันประกอบไปดวยดินแดนที่ซึ่งมี

ขอบเขตกวางขวาง มีประเทศรวมกันอยูในดินแดนสวนนี้ 7 ประเทศในปจจุบัน ไดแก

ไทย พมา ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย พระพุทธศาสนาเขามาสูสุวรรณภูมิในยุคนี้

ทําใหพระพุทธศาสนาในแถบนี้ เจริญรุงเรืองมาตามลําดับตามยุคสมัย แผขยายกวางขวาง ครอบคลุมไปทั่วดินแดนสุวรรณภูมิ จากประวัติความเปนมาของวัดหลวงซึ่งเปนวัดเกาแกที่สุด ในเมืองแพรกลาวไววา พอขุนหลวงพลพระราชนัดดาของพระมหากษัตริยอาณาจักรนานเจา ไดนําคนไทย (ไทยลื้อ ไทยเขิน) กลุมหนึ่งอพยพจากเมืองเชียงแสน ไชยบุรี และเวียงพางคํา ลงมาสรางบานแปงเมืองอยูบนบริเวณที่ราบฝงแมน้ํายม ในป พ.ศ.1371 ขนานนามวา

“เมืองพลนคร”เมื่อตั้งมั่นดีแลวก็ไดปาวประกาศใหชาวเมืองมารวมกันสรางวัดขึ้นเปนวัดแรก คือ วัดหลวง เมื่อ พ.ศ. 1372 หลังจากนั้นเปนตนมาก็เริ่มมีการสรางวัดวาอารามขยายขึ้น เรื่อย ๆ และในป พ.ศ. 2559 ตลอดป เมืองแพรไดจัดงานเฉลิมฉลองอยางยิ่งใหญ เมืองแพร

อายุครบ 1188 ป

พระพุทธศาสนาในเมืองแพรมีความเจริญรุงเรืองและมั่นคงเรื่อยมา เจาผูครอง เมืองแพรทุกพระองค ตลอดจนถึงชาวเมืองแพรสวนใหญลวนยึดมั่นในพระพุทธศาสนาอยาง มั่นคง สืบทอดจนกระทั่งถึงปจจุบัน เห็นไดจากการสรางศาสนาสถาน ไวเปนที่ประกอบ ศาสนพิธีเปนจํานวนมาก โดยมีศาสนสถานทั้งของมหานิกายและธรรมยุต ที่ไดรับวิสุงคามสีมา และยังไมไดรับวิสุงคามสีมารวมทั้งหมด 370 แหง ที่พักสงฆอีก 54 แหง มีพระภิกษุสามเณร ทั้งมหานิกายและธรรมยุต ประมาณ 2,130 กวารูป มีศรัทธาประชาชนยึดถือปฏิบัติตามหลัก

คําสอนของพุทธศาสนาตอเนื่องกันมาอยางเหนียวแนน ปจจุบันคนเมืองแพรสวนใหญนับถือ ศาสนาพุทธกันมากถึง 99.18 เปอรเซ็นต ทําใหพระพุทธศาสนาในเมืองแพรเจริญมาโดยลําดับ พระสงฆมีบทบาทสําคัญในการเผยแผพระพุทธศาสนา และมุงพัฒนาวัดใหมีความเขมแข็งเปนที่

พึ่งของชุมชนไดอยางแทจริง

3. ชีวิตและผลงานของพระสงฆเมืองแพรที่มีบทบาทสําคัญ

พระสงฆเมืองแพรตั้งแตอดีตที่ผานมามีบทบาทสําคัญและมีอิทธพล ตอคนในเมืองแพร

ที่เอาใจใสดูแลพระพุทธศาสนา ในที่นี้ขอยกตัวอยางเชน

1) ครูบากัญจนอรัญญวาสี มหาเถระ (ครูบามหาเถร) เปนพระมหาเถระนักปฏิบัติ

ที่เปนที่รูจักโดยทั่วไปในภาคเหนือ (ลานนา) มีชื่อเดิมวาปอย เกิดเมื่อ พ.ศ. 2332 ประกา ที่อําเภอสูงเมน จังหวัดแพร บวชเปนสามเณรตั้งแตเด็กและอุปสมบทเปนพระภิกษุ เมื่อป

พ.ศ. 2352 ณ วัดศรีชุม เมืองแพร ไดรับฉายาวา "กัญจนภิกขุ" ทานไดทําการศึกษาเลาเรียน พระธรรมวินัยและภาษาบาลีจนแตกฉาน ไดชวยเปนครูสอนในวัดศรีชุมระยะหนึ่ง กอนยาย กลับมาจําพรรษาอยูที่วัดสูงเมน ทานใหความสนใจทางดานวิปสสนากัมมัฏฐาน มุงศึกษาจน แตกฉาน ภายหลังไดไปศึกษาตอที่วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม เขารับการศึกษาดานวิปสสนา กัมมัฏฐานกับพระมหาราชครูแหงวัดสวนดอก เนื่องดวยพระมหาราชครูมีเชื้อสายเจานายฝาย เหนือ มีอํานาจทางคณะสงฆเปนอยางมาก แตทานใหความเลื่อมใสครูบามหาเถรที่มีความ เชี่ยวชาญดานอักษรบาลีและพระธรรมวินัย จึงไดแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน ครูบามหา เถรเปนมหาเถระที่เปนที่รูจักโดยทั่วไปในภาคเหนือ (ลานนา) เปนผูแตกฉานในภาษาบาลีและ ภาษาลานนา ครูบามหาเถร ไดรับแตงตั้งใหเปนเจาอาวาสวัดพระสิงหวรมหาวิหารเมื่อป

พ.ศ. 2402 และไดรับสมณศักดิ์จากเจาหลวงเชียงใหมทรงตั้งฉายาใหทานวาครูบากัญจนอรัญญ วาสีมหาเถร ถือเปนปฐมครูบาเจาแหงลานนา ทานไดมรณภาพ พ.ศ. 2421 สิริอายุ 89 ป

พรรษา 69 ณ วัดปามะมวง เมืองระแหง (จังหวัดตากในปจจุบัน) ตรงกับปที่ครูบาศรีวิชัยกําเนิด (พระราชเขมากร และคณะ, 2561, น. 81-90) ในขณะที่ไดไปศึกษาเลาเรียนตอในประเทศพมา ไดอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุและพระอรหันตธาตุ นํามาถวายตอเจาหลวงอินทวิชัย เจาผูครองนครแพร ตอมาเจาหลวงไดนําไปถวายแดพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว แตพระองคทรงใหนํากลับมาไวที่เจดียวัดมหาโพธิ์ ตําบลปาแมต อําเภอเมืองแพร จังหวัดแพร

เพื่อเปนสมบัติของชาวแพรสืบไป นอกจากนี้ครูบายังไดรวบรวมคัมภีรใบลานจากเมืองหลวง พระบาง แพร นาน มาไวที่หอพระไตรปฎกวัดสูงเมน จังหวัดแพร เปนจํานวนมากอีกดวย 2) พระมหาเมธังกร (พรหม พฺรหฺมเทโว) อดีตเจาคณะจังหวัดแพร มีชื่อเดิมวา พรหม เกศทับทิม เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2418 ที่บานน้ําคือ ตําบลในเวียง อําเภอ เมืองแพร จังหวัดแพร ป 2438 บรรพชาเปนสามเณร ณ วัดน้ําคือ ป พ.ศ. 2439 อุปสมบทเปน

Dalam dokumen ฉบับสมบูรณ์ (Halaman 133-141)

Garis besar

Dokumen terkait