• Tidak ada hasil yang ditemukan

อะไรคือ โบราณสถาน

Dalam dokumen ฉบับสมบูรณ์ (Halaman 168-171)

ที่สะทอนใหเห็นถึงอดีตของจังหวัดแพร ที่มีความอุดมสมบูรณดวยปาไมสักทองจนเปนแหลงคา ไมที่สําคัญในภาคเหนือ ผูคาที่สําคัญคือกลุมเจานายทองถิ่นในเมืองแพร ซึ่งมีการติดตอคาขาย กับบริษัทตางชาติ ตอมาในชวงหลังเหตุการณเงี้ยวปลนเมืองแพร ในพ.ศ. 2445 อํานาจของ กลุมเจานายทองถิ่นในเมืองแพรถูกลิดรอนโดยรัฐบาลสยาม ปาตาง ๆ ถูกควบคุมและรัฐบาล สยามเปนผูอนุญาตใหบริษัทตางชาติเขามาสัมปทานปาไมในเมืองแพรได บริษัทตางชาติที่

สําคัญในการขอพื้นที่สัมปทานทําปาไมในเมืองแพร ไดแก บริษัทบอมเบย เบอรมา (Bombay Burma Trading Corporation) ของอังกฤษ บริษัทนี้มีความชํานาญในการทําปาไมจากพมา และมีทุนทรัพยมาก จึงมีอิทธิพลตอรัฐบาลอังกฤษสูง บริษัทไดรับสัมปทานทําไมบริเวณปาไม

ทางทิศตะวันตกของแมน้ํายม ตั้งแตพื้นที่ตําบลสะเอียบ อําเภอสอง จนถึงปาแมตา อําเภอลอง

บริษัทบอมเบย เบอรมาไดสรางอาคารบอมเบย เบอรมา ที่เปนสถาปตยกรรมแบบ โคโลเนียล มีลักษณะผสมผสานกันระหวางอาคารทองถิ่นและอาคารแบบตะวันตก ติดกับ

แมน้ํายม เปนสํานักงานของแหลงพักไม โดยหลังจากที่หมดสัญญาสัมปทานปาไมในเมืองแพร

ทางบริษัทไดยกไวใหกับรัฐ (อดิศร ไชยบุญเรือง, ออนไลน, 2563)

อาคารบอมเบย เบอรมา มีอายุของอาคาร ยาวนานถึง 131 ป รูปแบบการกอสรางเปน สถาปตยกรรมแบบโคโลเนียล มีความสวยงาม มีรูปแบบของการกอสรางที่เปนเอกลักษณ

มีประวัติความเปนมาของอาคารที่สามารถสืบคนและทําใหเกิดความเขาใจเรื่องของ ประวัติศาสตร โบราณคดี ตลอดจนศิลปะได ซึ่งเปนไปตามหลักเกณฑทางวิชาการของการเปน โบราณสถาน แมวาปจจุบันจะยังไมมีการขึ้นทะเบียนขอเปนโบราณสถาน แตความงดงาม อายุของอาคารที่สะทอนถึงประวัติศาสตรของจังหวัดแพร จึงเปนสิ่งที่หลายฝายตองการอนุรักษ

ปกปอง คุมครอง และบํารุงรักษาใหคงอยูสืบตอไป

การรื้อถอนอาคารบอมเบย เบอรมา จึงนับเปนเหตุการณที่สรางความตระหนักและ ตื่นตัวในการที่จะอนุรักษ ปกปอง คุมครอง และบํารุงรักษาโบราณสถานสืบไป ในฐานะที่ผูเขียน เปนผูที่มีความรูทางดานกฎหมาย เห็นวากฎหมายเปนตัวกําหนดแนวปฏิบัติที่ดีใหกับคนใน สังคม จึงเสนอมาตรการทางกฎหมายเพื่อแนวทางหนึ่งในการรวมกันอนุรักษโบราณสถาน ของชาติ

158 Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 6 No. 2 (July–December 2020)

คําวา “โบราณสถาน” ตามมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติโบราณสถาน พ.ศ. 2504 แกไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถาน แหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 หมายความวา อสังหาริมทรัพยซึ่งโดยอายุหรือโดยลักษณะแหง การกอสราง หรือโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของอสังหาริมทรัพยนั้น เปนประโยชนในทาง ศิลปะ ประวัติศาสตร หรือโบราณคดี ทั้งนี้ใหรวมถึงสถานที่ที่เปนแหลงโบราณคดีแหลง ประวัติศาสตรและอุทยานประวัติศาสตรดวย

จากความหมายดังกลาวขางตน สิ่งใดจะถือเปนโบราณสถานไดนั้นจะตองประกอบดวย หลักเกณฑ ดังนี้

1) ตองเปนอสังหาริมทรัพย

ความหมายของคําวา “อสังหาริมทรัพย” ไดบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย มาตรา 139 วา “อสังหาริมทรัพย ไดแก ที่ดินและทรัพยสิ่งติดกับที่ดินมีลักษณะเปน การถาวร หรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับ ที่ดิน หรือทรัพยอันติดอยูกับที่ดิน หรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน จากความหมายสามารถ อธิบายความหมายของอสังหาริมทรัพยไดดังตอไปนี้

(1) ที่ดิน ทั้งที่ดินที่เจาของมีกรรมสิทธิ์ เชน ที่ดินมีโฉนด โฉนดแผนที่ โฉนดตรา จอง และยังรวมถึงที่ดินที่มีผูครอบครอง เชน ที่ดินที่มีสิทธิครอบครอง (ส.ค.1) ที่ดินที่มีหนังสือ รับรองการทําประโยชน (น.ส.3 หรือ น.ส.3 ก) เปนตน

(2) ทรัพยอันติดกับที่ดิน ไดแก ทรัพยที่ติดกับที่ดินโดยธรรมชาติ เชน ไมยืนตน หรือทรัพยที่ติดกับที่ดินโดยมีผูนํามาติด เชน ตึก อนุสาวรีย เจดีย เปนตัน

(3) ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน เชน แมน้ํา ลําคลอง กรวด ทราย ซึ่งมี

อยูตามธรรมชาติ

(4) สิทธิอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดิน หรือทรัพยสิทธิ ซึ่งแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

ประเภทแรก คือ สิทธิเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยตรง ไดแก กรรมสิทธิ์ หรือ สิทธิ ครอบครอง ผูทรงกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ยอมมีสิทธิที่จะจําหนายหรือโอน มีสิทธิ

ใชสอย และไดมาซึ่งดอกผล สิทธิที่จะติดตามทวงคืนทรัพยสินนั้นจากผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว

ประเภทที่สอง คือ สิทธิที่เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์โดยออม เปนสิทธิที่ไมเกี่ยวกับ กรรมสิทธิ์โดยตรง แตเปนสิทธิที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยอยางอื่นซึ่งติดอยูกับที่ดินอีกทอดหนึ่ง เชน สิทธิจํานอง

2) โดยอสังหาริมทรัพยที่เปนโบราณสถานจะมีหลักเกณฑสําคัญในการพิจารณา 3 ประการ คือ

(1) อายุของอสังหาริมทรัพย

(2) ลักษณะแหงการกอสรางของอสังหาริมทรัพย

(3) หลักฐานเกี่ยวกับประวัติของอสังหาริมทรัพย

ทั้งนี้ จะตองเปนเปนประโยชนตอศาสตรแขนงหนึ่งใดใน 3 แขนงนี้คือ ศิลปะ ประวัติศาสตร หรือโบราณคดี

เมื่อพิจารณาความหมายของโบราณสถานที่กฎหมายกําหนดขางตนแลว การที่จะถือวา สิ่งใดเปนโบราณสถานจะตองประกอบดวยหลักเกณฑดังนี้ คือ ประการแรก ตองเปน อสังหาริมทรัพย และประการที่สอง คือ โดยอายุหรือโดยลักษณะแหงการกอสราง หรือ หลักฐานเกี่ยวกับประวัติของอสังหาริมทรัพยนั้น เปนประโยชนในทางศิลปะ ประวัติศาสตร

หรือโบราณคดี

ประเภทของโบราณสถาน

ตามพระราชบัญญัติ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

พ.ศ. 2504 แกไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 อาจแยกประเภทของโบราณสถาน ได 2 วิธี

คือ (พณิชพงศ พลับผล 2552, น. 4 - 6)

1) แบงแยกโดยพิจารณาตามหลักกรรมสิทธิ์ คือ แบงเปน

(1.1) โบราณสถานที่มีเจาของหรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย (1.2) โบราณสถานที่ไมมีเจาของ หรือผูครอบครองโดยชอบดวยกฎหมาย 2) แบงโดยพิจารณาจากหลักการขึ้นทะเบียน คือ แบงเปน

(2.1) โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียน (2.2) โบราณสถานที่มิไดขึ้นทะเบียน

สําหรับอาคารบอมเบย เบอรมา อาคารแหงนี้ถือวาเปนโบราณสถาน ตามนิยามคําวา โบราณสถาน ในมาตรา 4 ของ พ.ร.บ.โบราณสถาน โบราณวัตถุศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถาน แหงชาติ พ.ศ.2504 แมวาขณะนี้อาคารบอมเบย เบอรมา จะไมไดขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถาน ก็ไมไดเปนสิ่งที่ทําใหความเปนโบราณสถานของอาคารบอมเบย เบอรมาหมดไป เพราะการขึ้น ทะเบียนเปนโบราณสถานไดหรือไมนั้น นอกจากจะเปนดุลพินิจของอธิบดีกรมศิลปากรแลว (มาตรา 7 ของ พ.ร.บ.โบราณสถาน โบราณวัตถุศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

พ.ศ. 2504) ยังขึ้นอยูกับการคนพบโบราณสถานนั้น ดังนั้น จึงไมไดเปนบทบังคับที่จะตองขึ้น ทะเบียนโบราณสถานในทุกกรณีเมื่อมีลักษณะและองคประกอบครบถวนดังที่กลาวขางตนแต

อยางใด (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 1015/2558)

160 Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 6 No. 2 (July–December 2020)

Dalam dokumen ฉบับสมบูรณ์ (Halaman 168-171)

Garis besar

Dokumen terkait