• Tidak ada hasil yang ditemukan

ปรนนิบัติ ชวยบริการ

Dalam dokumen ฉบับสมบูรณ์ (Halaman 107-115)

Abstracts

2.4 ปรนนิบัติ ชวยบริการ

2.5 เรียนศิลปะวิทยาโดยเคารพ คือ เอาจริงเอาจัง ถือเปนกิจสําคัญของศิษย

ในเรื่องนี้พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ทานไดอธิบายถึงหนาที่และความ รับผิดชอบของครูตามหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา เมื่อครั้งที่ทานยังดํารงสมณศักดิ์เปนพระ ราชวรมุนี ไดอธิบายไวในหนังสือปรัชญาการศึกษาไทย พอสรุปได 2 ประการ คือ ประการที่

หนึ่ง หนาที่ในการสั่งสอนศิลปะวิทยาการทุกสิ่งทุกอยางใหแกศิษย หนาที่ในดานนี้เรียกวาเปน

“สิปปทายก” หรือ “ศิลปทายก” สวนหนาที่ประการที่สองนั้น คือ เปน “กัลยาณมิตร”

ของศิษย หนาที่ในดานนี้ คือ คอยอบรมสั่งสอนมิใหศิษยกระทําความชั่ว ชวยชี้แนะใหศิษย

กระทําแตความดีทั้งปวง พยายามอบรมสั่งสอนศิษยใหเปนคนดีมีคุณธรรม ในทาง พระพุทธศาสนาใหความสําคัญหนาที่ในดานนี้มากกวาประการแรก ทั้งนี้เพราะถาหากครูคอย สั่งสอนศิลปะวิทยาการทุกสิ่งทุกอยางใหแกศิษยจนศิษยทุกคนมีความรูความสามารถในกิจการ งานทั้งปวง แตทวามิไดอบรมสั่งสอนใหศิษยเปนคนดีมีคุณธรรม คนที่มีความรูความสามารถดี

มีปญญานั้นอาจจะนําความเกงความสามารถของตนไปกระทําในสิ่งที่เบียดเบียนผูอื่นใหไดรับ ความเดือดรอนหรือไมก็นําความเดือดรอนมาสูตนเอง หากเปนเชนนี้ การมีความรูมาก การเปน คนเกง อาจนําความเดือดรอนมาใหตนเองและผูอื่น ซึ่งยอมไมเปนที่ปรารถนาของสังคม สวนรวม (พระราชวรมุนี, 2528, น. 53-57)

การเสริมสรางคุณลักษณะของครูที่ดี

ในหัวขอนี้ผูผูเขียนจะไดอธิบายถึงการเสริมสรางคุณลักษณะของครูที่ดีอยู 2 ประการ คือ คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา และคุณลักษณะของครูที่ดีในยุค ศตวรรษที่ 21 ดังมีรายละเอียดตามลําดับตอไปนี้

1. คุณลักษณะที่ดีของครูตามหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา

คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา ซึ่งเปนหลักคําสอนขององค

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจานั้น สามารถนํามายึดถือปฏิบัติไดทุกหมวดหมู ใหเกิดประโยชนทั้ง ตนเองและผูอื่น อยางไรก็ตามสําหรับหลักธรรมในพระพุทธศาสนาซึ่งมีความเกี่ยวของกับครู

มากที่สุดและถือวาเปน “คุณธรรมพื้นฐานของความเปนครู” หรือ คุณลักษณะของครูดี

หลักธรรมหมวดนี้ คือ กัลยาณมิตตธรรม ซึ่งมีอยู 7 ประการ คือ

1.1 ปโย (นารัก) คือ บุคคลที่เปนครูนั้นจะตองเปนผูที่นารัก ศิษยไดพบเห็นแลว รูสึกทําใหอยากเขาไปพบหาปรึกษาไตถาม สบายใจเมื่อไดพบปะพูดคุยกับครูอาจารยผูนั้น การกระทําตนใหเปนผูที่นารักของศิษยนั้นมิใชการที่ครูไมยอมวากลาวตักเตือนเมื่อศิษยทําสิ่งใด ผิดพลาด ตรงกันขามจะตองกระทําหนาที่ของครูใหสมบูรณตลอดเวลา นั่นคือ หากศิษยคนใด กระทําไมถูกตอง ครูจะตองคอยชี้นํา ตักเตือน หามปรามมิใหศิษยกระทําสิ่งนั้น ๆ

98 Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 6 No. 2 (July–December 2020)

1.2 ครุ (นาเคารพ) คือ บุคคลที่เปนครูนั้นตองเปนผูที่ประพฤติตนเหมาะสมแก

ฐานะของความเปนครู กระทําตนใหเปนแบบอยางที่ดีแกศิษยทั้งพฤติกรรมทางกายและทาง วาจา จิตใจสงบ เยือกเย็น มีเหตุมีผล ไมเปนคนเจาอารมณ เปนคนเสมอตนเสมอปลายทุก ๆ กรณี มีบุคลิกลักษณะประดุจดังผูทรงศีล ทําใหเปนที่นาเคารพศรัทธาเลื่อมใสของศิษย

1.3 ภาวนีโย (นาเจริญใจหรือนายกยอง) คือ บุคคลที่เปนครูนั้น จะตองกระทําตน ใหเปนที่นาเจริญใจหรือนายกยองของศิษยและบุคคลทั่วไป มีความรูและภูมิปญญาอยางแทจริง มีคุณธรรมความดีควรแกการกราบไหวบูชาของศิษยเสมอ สิ่งตาง ๆ เหลานี้จะบังเกิดมีในตัวครู

ได ผูที่เปนครูจะตองหมั่นฝกอบรมตนใหเจริญงอกงามศึกษาหาความรูอยูเสมอ เปนผูมีวิสัยทัศน

เปดใจรับความรูใหม ๆ ไมกระทําตนย่ําอยูกับที่ เปนครูเวลาทําการสอน เปนนักเรียนเมื่อมีเวลา วาง เปนนักสากลนิยม ถือศาสนาเปนหลักใจ ไมเปนคนมีมิจฉาทิฏฐิ เชื่อกฎแหงกรรม เปน ผูรักษากายดวยศีล ควบคุมจิตดวยสมาธิ และควบคุมความเห็นดวยปญญา หากครูคนใดมี

ลักษณะดังกลาว ยอมเปนที่นาเจริญใจเมื่อศิษยไดพบเห็น หรือเปนที่นายกยองของศิษยและ

บุคคลทั่วไป นอกจากนี้ ผูเปนครูจะตองพยายามพัฒนาชีวิตความเปนอยูในดานอื่น ๆ ใหเจริญกาวหนา ไมปลอยชีวิตใหซอมซอ นาหดหูแกผูพบเห็นทั่วไป

1.4 วัตตา (มีระเบียบแบบแผน) คือ บุคคลที่เปนครูนั้นจะตองกระทําตนใหเปน บุคคลที่เคารพระเบียบกฏเกณฑ มีระเบียบแบบแผน ขณะเดียวกันก็คอยอบรมตักเตือนใหศิษย

เปนผูมีระเบียบแบบแผน วากลาวตักเตือนในสิ่งที่ควรกระทํา เปนที่ปรึกษาที่ดีของศิษยดวย กลาวโดยรวมคุณลักษณะของครูในขอนี้ คือ ความเปนผูมีระเบียบแบบแผนของครูและคอย อบรมตักเตือนศิษยใหอยูในระเบียบกฏเกณฑดวย

1.5 วจนักขโม (อดทนตอถอยคํา) คือ บุคคลที่เปนครูนั้นจะตองเปนผูที่มีความ อดทนตอถอยคําพูดของศิษยที่มากระทบตอความรูสึก เพราะบางครั้งคําพูดของศิษยที่กลาว ออกมานั้นอาจจะทําใหครูรูสึกไมพอใจหรือไมสบายใจ ครูก็ตองอดทนและพรอมที่จะรับฟงขอ ซักถามและใหปรึกษาหารือ แนะนํา ไมเบื่อ ไมฉุนเฉียว

1.6 คัมภีรัญจะ กถัง กัตตา (แถลงเรื่องไดอยางลึกล้ํา) คือ บุคคลที่เปนครูนั้น จะตองมีความสามารถในการสอน มีความสามารถในการใชคําพูดอธิบายเรื่องราวตาง ๆ ให

ศิษยฟงไดอยางแจมแจง มีความรอบรูในเรื่องที่จะพูด และตองพยายามหาวิธีการที่สามารถ ถายทอดใหศิษยเขาใจไดงายที่สุด กลาวคือ สามารถอธิบายเรื่องยากใหเปนเรื่องงายได

1.7 โน จัฏฐาเน นิโยชเย (ไมชักนําศิษยไปในทางที่เสื่อม) คือ บุคคลที่เปนครูนั้น จะตองไมชักนําศิษยไปในที่ต่ําทรามใด ๆ สิ่งใดเปนความเสื่อมโทรมทางจิตใจ จะไมชักนําศิษย

ไปในทางนั้น ในขณะเดียวกัน ผูที่เปนครูก็จะตองไมประพฤติสิ่งเสื่อมทรามทั้งหลายทั้งปวงให

ศิษยเห็น ครูจะตองหลีกเลี่ยงสิ่งที่เปนอบายมุขทั้งปวง

คุณลักษณะของครูตามหลักกัลยาณมิตตธรรม ทั้ง 7 ประการ หากบังเกิดกับผูที่เปนครู

คนใดแลว บุคคลนั้นยอมไดชื่อวาเปนครูที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงคของสังคมและประเทศชาติ

2. คุณลักษณะของครูที่ดีในยุคศตวรรษที่ 21

ในยุคศตวรรษที่ 21 หรือที่เรียกกันวายุคโลกาภิวัตน เปนยุคแหงเทคโนโลยีสารสนเทศ แหงโลกไรพรมแดน เปนยุคแหงขอมูลขาวสารที่มนุษยสามารถติดตอถึงกันไดอยางรวดเร็วและ ทั่วถึง เมื่อเปนเชนนี้ ผูที่เปนครูในยุคสมัยใหม จึงจําเปนตองพัฒนาตนเองใหทันตอความ เจริญกาวหนาในวิทยาการใหม ๆ ที่แพรกระจายไปทุกสังคมโลก ความรูจากการศึกษาเลาเรียน จากตําราอาจไมเพียงพอ จําเปนตองศึกษาหาความรูจากแหลงอื่น ๆ เพิ่มเติมเสมอ เพื่อใหมี

ความรอบรูในสถานการณตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอการดํารงชีวิตในสังคมปจจุบันที่มีทั้งทางบวก และทางลบ อยางไรก็ตาม คุณลักษณะที่เปนความดีเปนสัจธรรม ดังนั้น หากพิจารณาถึง คุณลักษณะที่สําคัญ ๆ ของครูที่ดีในยุคศตวรรษที่ 21 จะไดแกคุณลักษณะดังตอไปนี้

(ยนต ชุมจิต, 2558, น. 141-148)

2.1 รูดี – เปนคุณลักษณะประการแรกของบุคคลที่เปนครูทุกคน คือ ตองมีความรู

ดี การมีความรูดีที่นี้มีความหมายกวางที่สําคัญ ไดแก (1) ความรูในเนื้อหาที่จะสอน (2) ความรู

ในจิตวิทยาการเรียนการสอน (3)ความรูในหลักการสอน (4) ความรูเรื่องเศรษฐกิจ (5) ความรู

เรื่องการบานการเมือง (6)ความรูทางศาสนาและวัฒนธรรมรวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณี

(7) ความรูทางดานประวัติศาสตร ศิลปะและวรรณคดีที่สําคัญของชาติ (8) ความรูและ ความสามารถในการใชภาษาไทยเปนอยางดีและความรูดานภาษาตางประเทศ (9) ความรู

ความสามารถในการประพันธโคลง ฉันท กาพย กลอน (10) ความรูเรื่องสภาพสิ่งแวดลอมทาง สังคม (11) ความรูเรื่องธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (12) ความรูเรื่องการใชคอมพิวเตอร

และเทคโนโลยีตาง ๆ ความรูในดานตาง ๆ เหลานี้ หากครูอาจารยสามารถพัฒนาตนเองไดมาก เพียงใด ยอมชวยสรางศักยภาพความเปนครูและการปรับตัวสมดุลในยุคศตวรรษที่ 21 ไดมาก เพียงนั้น

2.2 สอนดี – ความรูดีดานเดียวไมเพียงพอตอความเปนครูในยุคใหม ครูที่ดีนั้น จะตองเปนผูมีความสามารถในการสอนคนดวย ซึ่งความสามารถในการสอนนั้นจะตองอาศัย องคประกอบหลาย ๆ อยาง ที่สําคัญไดแก (1) รูหลักการสอน (2) รูจักนักเรียนที่จะสอน (3) รูจักสภาพแวดลอมทางบานของนักเรียน (4) มีสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคม เอื้ออํานวยตอการเรียนการสอน (5) สุขภาพอนามัยสมบูรณ (6) บุคลิกภาพเหมาะสม (7) ความ พรอมที่จะเรียนรูของนักเรียน และ (8) มีเครื่องอํานวยความสะดวกตาง ๆ พรอม สวนหลักคํา สอนของพระพุทธศาสนานั้น ครูที่สอนดีนั้นจะตองมีลีลาการสอน 4 ประการ คือ (1) สันทัศนา

100 Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 6 No. 2 (July–December 2020)

คือ สามารถชี้แจงไดชัดเจน (2) สมาทปนา คือ สอนแลวนักเรียนอยากปฏิบัติตาม (3) สมุตเตช นา คือ สอนแลวนักเรียนเกิดความกลาที่จะกระทําตามที่ครูสอน และ (4) สัมปหังสนา คือ นักเรียนเกิดความราเริงบันเทิงใจกับการไดเรียนรูในสิ่งนั้น ๆ

2.3 มีวิสัยทัศน - นอกจากมีความรูดีและสอนดีแลว ครูดีในยุคสมัยใหมนั้นจะตอง เปนผูที่มีวิสัยทัศนอีกดวย กลาวคือ ผูเปนครูจะตอง “มองการณไกลใชปญญา” หรือในทาง พระพุทธศาสนาเรียกวา “จักขุมา” การมองการณไกลใชปญญาหรือมีวิสัยทัศนนั้น คือ ความสามารถในการมองเหตุการณตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต การมีวิสัยทัศนจะชวยทําให

บุคคลไดพัฒนาตนเองอยูเสมอ และสามารถปรับตัวไดเทาทันการเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้น ครูดีในยุคใหมจะตองเปนผูมีวิสัยทัศน

2.4 เจนจัดฝกฝนศิษย - การมีความรูดี สอนดี มีวิสัยทัศน แตถาไมเจนจัดการ ฝกฝนศิษยแลวยังไมสามารถจะเปนครูที่ดีได ทั้งนี้เพราะการสอนใหคนมีความรูในศิลปวิทยา การตาง ๆ นั้น เปนงานที่ไมยากเกินกําลังของผูสอนทั่วไป งานที่ยากยิ่งของผูที่มีวิญญาณความ เปนครู คือ การอบรมฝกฝนใหคนเปนมนุษย การเปนมนุษย หมายถึง การเปนผูมีจิตใจสูง เปนผู

มีคุณธรรม รูจักผิดชอบชั่วดี มีความละอายและเกรงกลัวตอบาป และจะตองสรางแตความดี

ใหกับตนเองและผูอื่นอยูเสมอ สิ่งตาง ๆ ดังกลาว จะบังเกิดแกศิษยไดอยางครบถวนสมบูรณ

จะตองอาศัยครูที่มีความจัดเจนในการฝกฝนศิษย นั่นคือ จะตองมีความยินดีพอใจที่จะอบรมสั่ง สอนศิษย มีความอดทนที่จะพร่ําสอน แมวาศิษยของตนจะฝกฝนยากเพียงใดก็ตาม

2.5 ดวงจิตใฝคุณธรรม - ความเจนจัดในการฝกฝนอบรมศิษยใหเปนคนดีมี

คุณธรรมจะไรผลถาหากผูทําหนาที่ในการฝกฝนอบรม คือ ครูเปนผูที่ไรคุณธรรม ทั้งนี้เพราะ การจะอบรมสั่งสอนใหผูใดเปนอยางไรนั้น ผูที่ทําหนาที่ในการอบรมสั่งสอนจะตองกระทําตนให

เปนแบบอยาง ดังพุทธศาสนสุภาษิตกลาวไววา “อตฺตานฺเจ ตถา กยิรา ยถฺมนุสาสติ.”

แปลวา “ถาพร่ําสอนผูอื่นฉันใด ก็ควรทําตนฉันนั้น” ดังนั้น ครูดีในยุคศตวรรษที่ 21 หรือในยุค ใด ๆ ก็ตามจะตองเปนผูที่ “ใฝดี” หมายความวา ดวงจิตของผูที่เปนครูนั้นจะตองใฝในคุณความ ดีตาง ๆ เพื่อแสดงใหศิษยและบุคคลทั่วไปไดเห็นวา ผูเปนครูนั้นเปนคนดีมีคุณธรรม สมควร ไดรับการยกยองใหเปนปูชนียบุคคล สําหรับคุณธรรมที่ครูควรศึกษาและนอมมาปฏิบัตินั้นมี

มากมายในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา

2.6 งามเลิศล้ําดวยจรรยา – ครูที่ดีจะตองงามดวยจรรยา คือ ความประพฤติหรือ กิริยามารยาทของความเปนครู สําหรับจรรยามารยาทที่ครูไทยควรตระหนักและฝกฝนปฏิบัติมี

อยู 2 นัยดวยกัน คือ นัยแรกไดแก จรรยามารยาทแบบไทย ๆ คือการปฏิบัติตามมารยาทไทย ใหถูกตองเหมาะสม เชน การไหวพระ การไหวบุคคลตาง ๆ การกราบบุคคล การกราบพระ การประเคนของพระ การรับของการสงของ ตลอดจนการเขารับพระราชทานสิ่งของ เปนตน

Dalam dokumen ฉบับสมบูรณ์ (Halaman 107-115)

Garis besar

Dokumen terkait