• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

ตาราง 1 ต่อ)

แหล่งข้อมูล องค์ประกอบ

แดเนียล บี. โรบินสัน และ ลินน์

แลนดอลล์

(Robinson และ Randall, 2017)

1. ด้านจิตใจ 2. ด้านพฤติกรรม 3. ด้านความรู้

4. ด้านความสามารถของร่างกาย คณะกรรมการกีฬาแห่ง

ประเทศออสเตรเลีย (Australian Sports Commission, Online)

1. ด้านร่างกาย 2. ด้านจิตใจ 3. ด้านสังคม 4. ด้านสติปัญญา การกีฬาประเทศนิวซีแลนด์

(Sport New Zealand, Online)

1. ด้านความรู้ (Cognitive)

2. ด้านสังคมและอารมณ์ (Social and Emotional) 3. ด้านร่างกาย (Physical)

4. ด้านจิตวิญญาณ (Spiritual) คณะวิจัยด้านการใช้ชีวิตอย่าง

ผู้มีสุขภาพที่ดีและโรคอ้วน (Healthy Active Living and Obesity Research Group, 2017, 1-99)

1. ด้านแรงจูงใจและความมั่นใจ (Motivation and Confidence) 2. ด้านความรู้ ความเข้าใจ (Knowledge and Understanding) 3. ส ม ร ร ถ น ะ ท า ง ก า ย ที่ น า ไ ป สู่ กิ จ ก ร ร ม ท า ง ก า ย (Physical Competence Towards Physical Activity)

4. ด้านพฤติกรรมในชีวิตประจ าวัน (Daily Behavior) เรย์มอน เค ดับเบิลยู ซัม และ

คนอื่น ๆ

(Raymond K.W. Sum, 2018, 26-31)

1. ด้านความรู้และความเข้าใจ (knowledge and understanding)

2. ด้านการแสดงออกของตนเองและการสื่อสารกับผู้อื่น (self-expression and communication with others) 3. ด้านความรู้สึกเกี่ยวกับตนเองและความมั่นใจในตนเอง (sense of self and self-confidence)

หวังและคงส์

(Wang และ King, 2019)

1. แรงจูงใจ

2. สมรรถนะทางด้านร่างกาย,

3.การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และผู้อื่น 4. ความรู้และความเข้าใจ

ตาราง 1 (ต่อ)

แหล่งข้อมูล องค์ประกอบ

หม่า และคนอื่น ๆ

(Ma และคนอื่น ๆ, 2020, 68-73)

1. ด้านความรู้สึกเกี่ยวกับตนเองและความมั่นใจในตนเอง (Sense of self and self-confidence),

2. ด้านการแสดงออกของตนเองและการสื่อสารกับผู้อื่น (self-expression and communication with others) 3. ด้านความรู้และความเข้าใจ

(Knowledge and understanding) ชูเอา โมต้า, ชูเอา มาตินส์ และ

มากอส โอโนเฟร

(Mota และคนอื่น ๆ, 2021)

1. องค์ประกอบด้านความรู้

2. องค์ประกอบด้านจิตวิทยา 3. องค์ประกอบด้านสังคม โมฮัมเมดซาเดท และคนอื่น ๆ

(Mohammadzadeh และคน อื่น ๆ, 2021)

1. ด้านจิตพิสัยและพฤติกรรม 2. ด้านความรู้และความตระหนักรู้

3. ด้านความสามารถทางกายและกิจกรรม เฉียวชี่ ดอง

(Xiaoxi Dong, 2021)

1. อารมณ์และความรู้สึกต่อกิจกรรมทางกาย (affectivity of physical activity)

2. การมีส่วนร่วมกับกิจกรรมทางกาย (engagement in physical activity) 3. การรับรู้สมรรถนะทางกาย (perceived physical competence) 4. ความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมทางกาย

(knowledge and understanding in physical activity) Physical & Health Education

Canada (Online)

1. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น (Active Participation) 2. ทักษะการใช้ชีวิต (Living Skillks)

3. ทักษะทางด้านกลไก (Fitness Skills) 4. ทักษะการเคลื่อนไหว (Movement Skills)

ตาราง 1 (ต่อ)

แหล่งข้อมูล องค์ประกอบ

ก้องสยาม ลับไพรี (2562) 1. แรงจูงใจและความเชื่อมั่น 2. สมรรถนะทางการเคลื่อนไหว 3. ความรู้และความเข้าใจ

4. การมีส่วนร่วมและมุ่งมั่นการออกก าลังกายเพื่อชีวิต

โดยข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสามารถสรุปและน าไปใช้

ส าหรับการด าเนินการวิจัยต่อไป เพื่อใช้ในการศึกษาองค์ประกอบ และพัฒนาความฉลาดรู้

ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย

การวิจัยเพื่อการพัฒ นาแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ ผู้วิจัยได้จ าแนกวิธีด าเนินการวิจัย ออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบของความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์โดยใช้เทคนิค EFR (The Ethnographic Futures Research) ระยะที่ 2 การพัฒนาแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกาย ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ และ ระยะที่ 3 การสร้างเกณฑ์ปกติของแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ซึ่งมีรายละเอียดการด าเนินการวิจัยดังนี้

การด าเนินการวิจัย

ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบของความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ โดยในระยะนี้เป็นการศึกษาทบทวน เอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ (Systematic Reviews) แล้วท า การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อน าข้อมูลที่ได้มาใช้ในการสร้างนิยามของความฉลาด รู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

และกรอบการประเมินโดยประยุกต์ใช้เทคนิค EFR (The Ethnographic Futures Research) จากเชี่ยวชาญจ านวน 7 คน จากนั้นจึงด าเนินการสังเคราะห์เป็นองค์ประกอบ และน าองค์ประกอบ ที่ได้ไปตรวจสอบความถูกต้องโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คน

ระยะที่ 2 การพัฒนาแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ โดยในระยะนี้เป็นการน าข้อมูลที่ได้จากระยะที่ 1 มาสร้างเป็นแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี

ความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ โดยก าหนดองค์ประกอบของแบบประเมินจากข้อมูลที่ได้รับจาก ระยะที่ 1 จากนั้นจึงด าเนินการสร้างร่างแบบประเมิน ฯ ให้สอดคล้องกับองค์ประกอบ แล้วน าไปหา คุณภาพของแบบประเมิน ฯ ด้านความเที่ยงตรงตามเนื้อหาด้วยดัชนีความสอดคล้อง (The Item Objective Congruence : IOC) อ านาจจ าแนกด้วยเทคนิค 25% และความเชื่อมั่น ด้วยค่า

สัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบัค (Cronbach Alpha Coefficient) จากนั้นจึงน าแบบประเมินที่ได้มา ตรวจสอบคุณภาพด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) ของแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

ระยะที่ 3 การสร้างเกณฑ์ปกติของแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ โดยการน าแบบประเมินฉบับสมบูรณ์

ไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อใช้ในการสร้างเกณฑ์ปกติของแบบประเมินความฉลาดรู้

ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ และจัดท า เป็นแบบประเมิน ฯ ฉบับสมบูรณ์ การด าเนินการวิจัยทั้ง 3 ระยะสามารถสรุปได้ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาทบทวนเอกสารทางวิชาที่เกี่ยวข้องกับแบบประเมิน ความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

ขั้นตอนที่ 2 ข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 มาสร้างเป็นภาพร่างอนาคตความฉลาดรู้

ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

จากผู้เชี่ยวชาญทางด้านพลศึกษาจ านวน 7 คน

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบความถูกต้องของสังเคราะห์องค์ประกอบความฉลาดรู้

ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

จากผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คน

ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบ ของความฉลาดรู้ทางกายส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

แบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพและเกณฑ์ปกติ

ขั้นตอนที่ 10 ด าเนินการสร้างเกณฑ์ปกติในรูปแบบคะแนนมาตรฐาน T (Normalized T score)ส าหรับ แบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษ วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการจัดท าแบบประเมิน และวิธีการใช้แบบประเมินฉบับสมบูรณ์

ระยะที่ 3 การสร้างเกณฑ์ปกติของ แบบประเมินความฉลาดรู้ทางกาย ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษ

วิทยาศาสตร์

ขั้นตอนที่ 4 สร้างร่างเครื่องมือ ตามองค์ประกอบที่ได้ในขั้นตอนที่ 3 โดยก าหนดนิยาม ตามองค์ประกอบ และสร้างแบบประเมินให้ครอบคลุมองค์ประกอบที่ได้

ระยะที่ 2 การพัฒนาแบบประเมิน ความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี

ความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบคุณภาพด้านความเชื่อมั่นและค่าอ านาจจ าแนกของข้อค าถาม ของแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

ขั้นตอนที่ 7 ปรับแก้ร่างแบบประเมินให้มีความเหมาะสม น าร่างแบบประเมินที่ปรับแก้

ไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง ด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาระหว่างข้อค าถามกับนิยามของ องค์ประกอบด้วยการหาค่า IOC จากผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 คน

ขั้นตอนที่ 8 จัดชุดแบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ฉบับสมบูรณ์

องค์ประกอบของความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์

แบบประเมินความฉลาดรู้ทางกายส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์