• Tidak ada hasil yang ditemukan

4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ได้ใช้สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ดังนี้

n แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่าง N แทน จ านวนของคะแนนเต็ม

𝑥̅ แทน คะแนนเฉลี่ย

S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) t แทน ค่าการเปรียบเทียบ

F แทน สถิติที่ใช้ในการทดสอบในการวิเคราะห์การแจกแจงแบบเอฟ (F-distribution) df แทน ค่าอันตรภาคชั้น (n - 1)

SS แทน ผลบวกก าลังสอง (Sum of Squares) MS แทน ค่าก าลังสองเฉลี่ย (Mean Squares)

p แทน ค่าผลการเปรียบเทียบมากหรือน้อยกว่าค่านัยส าคัญที่ก าหนด * แทน มีนัยส าคัญทางสถิติที่ตั้งไว้ .05

E1 แทน ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบระหว่างเรียนรู้

E2 แทน ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบหลังเรียนรู้

E.I. แทน ดัชนีประสิทธิผล X แทน ผลรวมของคะแนน

113 4.2 ล าดับขั้นตอนในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้มาท าการวิเคราะห์และน าเสนอผลการวิเคราะห์ตามล าดับ ดังต่อไปนี้

4.2.1 ผลการเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ ส าหรับ นิสิตปริญญาตรี ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/E2) และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของกิจกรรมการเรียนรู้

4.2.2 ผลการศึกษาและเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ทัศนคติต่อ สิ่งแวดล้อม และจริยธรรมสิ่งแวดล้อม โดยใช้ t-test (Paired Samples) ก่อนและหลังการเรียนรู้

4.2.3 ผลการเปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อม และ จริยธรรมสิ่งแวดล้อม จ าแนกตามเพศและผลการเรียนรู้ที่ต่างกัน โดยการเปรียบเทียบความแปรปรวน (One-way MANOVA) การวิเคราะห์ตัวแปรตัวเดียว (Univariate Analysis) และการเปรียบเทียบ ความแปรปรวนร่วม (One-way MANCOVA)

4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.3.1 ผลการพัฒนาการเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้

ส าหรับนิสิตปริญญาตรี

1) ผลการเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ ที่มี

ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/E2) และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของกิจกรรม การเรียนรู้ สามารถน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังตารางที่ 7 – 11 ดังนี้

114 ตารางที่ 7 คะแนนความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ระหว่างเรียนรู้และหลังเรียนรู้ของนิสิตจ าแนกเป็นราย คน (n=50)

คนที่ คะแนนความรู้

ระหว่างเรียนรู้ (N=80)

คะแนนความรู้

หลังเรียนรู้ (N=80) คนที่ คะแนนความรู้

ระหว่างเรียนรู้ (N=80)

คะแนนความรู้

หลังเรียนรู้ (N=80)

1 73.00 64.00 26 75.00 60.00

2 72.00 65.00 27 71.00 67.00

3 76.00 68.00 28 76.00 71.00

4 76.00 72.00 29 74.00 70.00

5 78.00 71.00 30 77.00 68.00

6 76.00 73.00 31 72.00 72.00

7 77.00 71.00 32 75.00 70.00

8 76.00 73.00 33 72.00 72.00

9 75.00 66.00 34 70.00 70.00

10 75.00 72.00 35 74.00 69.00

11 78.00 70.00 36 74.00 67.00

12 74.00 70.00 37 70.00 70.00

13 75.00 70.00 38 71.00 72.00

14 75.00 70.00 39 73.00 69.00

15 76.00 72.00 40 71.00 67.00

16 75.00 64.00 41 73.00 72.00

17 72.00 70.00 42 74.00 70.00

18 74.00 70.00 43 75.00 65.00

19 71.00 72.00 44 73.00 68.00

20 75.00 67.00 45 74.00 67.00

21 72.00 68.00 46 75.00 68.00

22 77.00 71.00 47 75.00 68.00

23 72.00 70.00 48 72.00 67.00

24 73.00 68.00 49 71.00 72.00

25 78.00 68.00 50 69.00 72.00

∑X 3,697 3,458

115 คนที่ คะแนนความรู้

ระหว่างเรียนรู้ (N=80)

คะแนนความรู้

หลังเรียนรู้ (N=80) คนที่ คะแนนความรู้

ระหว่างเรียนรู้ (N=80)

คะแนนความรู้

หลังเรียนรู้ (N=80)

𝒙̅ 73.94 69.16

S.D. 2.24 2.68

ร้อยละ 92.46 86.45

จากตารางที่ 7 พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมระหว่างเรียนรู้โดยรวม 73.94 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.46 และหลังเรียนรู้โดยรวมมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 69.16 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.45

ตารางที่ 8 คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมระหว่างเรียนรู้ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ของนิสิตจ าแนกตามแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ ส าหรับนิสิต ปริญญาตรี

แผนการสอน N 𝒙̅ S.D. ร้อยละ

1. ทรัพยากรดิน 10 9.14 0.91 91.40

2. ทรัพยากรน้ า 10 9.30 0.76 93.00

3. มลพิษทางอากาศ 10 9.24 0.82 92.40

4. ทรัพยากรป่าไม้ 10 9.28 0.70 92.80

5. ทรัพยากรสัตว์ป่า 10 9.22 1.06 92.20

6. การเกษตรเชิงอนุรักษ์ 10 9.32 0.68 93.20

7. การเกษตร 10 9.30 0.61 93.00

8. การจัดการขยะมูลฝอย 10 9.14 0.67 91.40

รวม 80 73.94 1.20 92.43

ประสิทธิภาพของกระบวนการแผนการสอน (E1) เท่ากับ 92.43

จากตารางที่ 8 พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ระหว่างเรียนรู้

โดยรวมเท่ากับ 73.94 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.43 แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เท่ากับ 92.43

116 ตารางที่ 9 คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมหลังเรียนรู้ของนิสิต จ าแนกตามแผนการสอน สิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ ส าหรับนิสิตปริญญาตรี

แผนการสอน N 𝒙̅ S.D. ร้อยละ

1. ทรัพยากรดิน 10 8.10 0.91 81.00

2. ทรัพยากรน้ า 10 8.32 1.10 83.20

3. มลพิษทางอากาศ 10 8.94 0.71 89.40

4. ทรัพยากรป่าไม้ 10 8.82 1.02 88.20

5. ทรัพยากรสัตว์ป่า 10 8.94 0.51 89.40

6. การเกษตรเชิงอนุรักษ์ 10 8.90 0.82 89.00

7. การเกษตร 10 8.82 0.80 88.20

8. การจัดการขยะมูลฝอย 10 8.32 1.27 83.20

รวม 80 69.16 0.89 86.45

ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 86.45

จากตารางที่ 9 พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม หลังเรียนรู้โดยรวม เท่ากับ 69.16 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.45 แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพของแผนการสอน (E2) เท่ากับ 86.45

ตารางที่ 10 ประสิทธิภาพของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ ส าหรับ นิสิตปริญญาตรี (E1/E2)

ประสิทธิภาพของแผนการสอน คะแนนเต็ม 𝒙̅ S.D. ร้อยละ

ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) 80 73.94 1.20 92.43

ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) 80 69.16 0.89 86.45

ประสิทธิภาพของแผนการสอน 92.43/86.45

จากตารางที่ 10 พบว่า ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) คิดเป็นร้อยละ 92.43 และ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) คิดเป็นร้อยละ 86.45 ดังนั้น แผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ ส าหรับนิสิตปริญญาตรี จึงมีประสิทธิภาพเท่ากับ 92.43/86.45 เป็นไป ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้

117 ตารางที่ 11 ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้

ส าหรับนิสิตปริญญาตรี

ผลรวมคะแนน ความรู้ก่อนเรียนรู้

ผลรวมคะแนน

ความรู้หลังเรียนรู้ จ านวนนิสิต คะแนนเต็มของ ความรู้หลังเรียนรู้

ค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.)

1,522 3,458 50 80 0.7813

ค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้

ส าหรับนิสิตปริญญาตรี มีวิธีในการหาประสิทธิผล ดังนี้

ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) = ผลรวมคะแนนความรู้หลังเรียนรู้ - ผลรวมคะแนนความรู้ก่อนเรียนรู้

(คะแนนเต็ม x จ านวนนิสิต) - ผลรวมคะแนนความรู้ก่อนเรียนรู้

ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) = 3,458 – 1,522 (80 x 50) – 1,522 ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) = 0.7813

จากตารางที่ 11 พบว่า ค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา โดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ ส าหรับนิสิตปริญญาตรี มีค่าเท่ากับ 0.7813 หรือคิดเป็นร้อยละ 78.13 แสดงให้เห็นว่านิสิตมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น

118 4.3.2 ผลการศึกษาและเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ทัศนคติต่อ สิ่งแวดล้อม และจริยธรรมสิ่งแวดล้อม โดยใช้ t-test (Paired Samples) ก่อนและหลังการ เรียนรู้

1) การวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของนิสิต สามารถสรุป ผลการศึกษาได้ดังตารางที่ 12

ตารางที่ 12 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังเรียนรู้

(n=50)

รายการ

ก่อนเรียนรู้ หลังเรียนรู้

t df p

𝒙̅ S.D. ระดับ

ความรู้ 𝒙̅ S.D. ระดับ ความรู้

ความรู้

เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อม

(N = 80)

30.44 6.41 ปานกลาง 69.16 2.68 มากที่สุด -40.172 49 .000*

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 12 พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ก่อนเรียนรู้โดย รวมอยู่ในระดับปานกลาง (𝑥̅ = 30.44) และหลังเรียนรู้นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 69.16) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ก่อนและหลังเรียนรู้ พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมหลังเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียนรู้

อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

119 2) การวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิต สามารถสรุปผลการศึกษา ได้ดังตารางที่ 13 – 14

ตารางที่ 13 คะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังเรียนรู้ จ าแนกเป็นราย แผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้วิจัยเป็นฐานการเรียนรู้ ส าหรับนิสิตปริญญาตรี

ทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อม (N=5)

ก่อนเรียนรู้ หลังเรียนรู้

𝒙̅ S.D. ระดับ 𝒙̅ S.D. ระดับ

1. ทรัพยากรดิน 3.42 0.13 เห็นด้วย 4.37 0.20 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2. ทรัพยากรน้ า 3.28 0.20 ไม่แน่ใจ 4.20 0.18 เห็นด้วย 3. มลพิษทางอากาศ 3.46 0.19 เห็นด้วย 4.42 0.19 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4. ทรัพยากรป่าไม้ 3.44 0.27 เห็นด้วย 4.36 0.18 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 5. ทรัพยากรสัตว์ป่า 3.32 0.20 ไม่แน่ใจ 4.34 0.21 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 6. การเกษตรเชิงอนุรักษ์ 3.41 0.22 เห็นด้วย 4.37 0.20 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 7. การเกษตร 3.48 0.23 เห็นด้วย 4.36 0.20 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 8. การจัดการขยะมูลฝอย 3.46 0.14 เห็นด้วย 4.32 0.20 เห็นด้วยอย่างยิ่ง

รวม 3.41 0.13 เห็นด้วย 4.34 0.12 เห็นด้วยอย่างยิ่ง

จากตารางที่ 13 พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติสิ่งแวดล้อม ก่อนเรียนรู้โดยรวมเท่ากับ 3.41 อยู่ในระดับเห็นด้วย และหลังเรียนรู้นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวมเท่ากับ 4.34 อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง เมื่อพิจารณาเป็นรายแผนก่อนเรียนรู้ นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ การเกษตร (𝑥̅=3.48) และรายแผนที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านทรัพยากรน้ า (𝑥̅=3.28) ส่วนหลังเรียนรู้รายแผนที่นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ มลพิษทางอากาศ (𝑥̅=4.42) และรายแผนที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ทรัพยากรน้ า (𝑥̅=4.20)

120 ตารางที่ 14 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังเรียนรู้

รายการ ก่อนเรียนรู้ หลังเรียนรู้

t df p

𝒙̅ S.D. ระดับ 𝒙̅ S.D. ระดับ ทัศนคติต่อ

สิ่งแวดล้อม (N = 5)

3.41 0.13 เห็นด้วย 4.34 0.12 เห็นด้วย

อย่างยิ่ง -38.789 49 .000*

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 14 นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อม ก่อนเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับ เห็นด้วย (𝑥̅=3.41) และหลังเรียนรู้นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง (𝑥̅=4.34) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมก่อนและหลังเรียนรู้ พบว่า นิสิตมี

คะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมหลังเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียนรู้ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) การวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยจริยธรรมสิ่งแวดล้อมของนิสิต สามารถสรุปผลการศึกษา ได้ดังตารางที่ 15 – 16

ตารางที่ 15 คะแนนเฉลี่ยจริยธรรมสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังเรียนรู้ จ าแนกเป็นรายแผนการสอน จริยธรรมสิ่งแวดล้อม

(N=4)

ก่อนเรียนรู้ หลังเรียนรู้

𝒙̅ S.D. ระดับ 𝒙̅ S.D. ระดับ

1. ทรัพยากรดิน 2.45 0.32 เพื่อญาติมิตร

พวกพ้อง 3.33 0.13 เพื่อความ ถูกต้องดีงาม 2. ทรัพยากรน้ า 2.49 0.22 เพื่อญาติมิตร

พวกพ้อง 3.22 0.11 เพื่อสังคม 3. มลพิษทางอากาศ 2.50 0.21 เพื่อญาติมิตร

พวกพ้อง 3.37 0.24 เพื่อความ ถูกต้องดีงาม 4. ทรัพยากรป่าไม้ 2.57 0.21 เพื่อสังคม 3.35 0.22

เพื่อความ ถูกต้องดีงาม

Dokumen terkait