• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการศึกษาระดับพัฒนาการคุณลักษณะของความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยโดยใช้ปัญหา

ปัญหาเป็นฐาน

ผลการศึกษาระดับพัฒนาการคุณลักษณะของความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยโดย ใช้ปัญหาเป็นฐาน จากการท าแบบประเมินทั้งจากผู้เรียนและผู้สอน สามารถแสดงผลการวิเคราะห์

ข้อมูลได้ดังตารางได้ต่อไปนี้

ตาราง 12 ระดับพัฒนาการของความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน แผนการจัดการ

เรียนรู้

ครั้งที่

ประเมิน (สัปดาห์)

ชั่วโมง ผลการประเมิน ค่าคะแนน

เฉลี่ย คุณลักษณะพลเมือง

ประชาธิปไตย

ผู้เรียน ผู้สอน

ระดับ

S.D. S.D.

แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 1

1 ชั่วโมงที่

1-2

พลเมืองที่เคารพความ

แตกต่าง 1.91 0.82 1.79 0.82 ปานกลาง

3

พลเมืองที่รับผิดชอบต่อ

หน้าที่ 2.13 0.86 1.87 0.77 ปานกลาง

พลเมืองที่มีส่วนร่วมและ

คิดอย่างมีเหตุผล 2.07 0.70 1.66 0.75 ปานกลาง

รวม 2.03 0.73 1.74 0.71

ระดับ ปานกลาง ปานกลาง

2 ชั่วโมงที่

3-4

พลเมืองที่เคารพความ

แตกต่าง 2.21 0.71 2.09 0.61 ปานกลาง

3

พลเมืองที่รับผิดชอบต่อ

หน้าที่ 2.24 0.69 2.21 0.66 ปานกลาง

พลเมืองที่มีส่วนร่วมและ

คิดอย่างมีเหตุผล 2.10 0.75 1.79 0.65 ปานกลาง

รวม 2.18 0.67 2.02 0.59

ระดับ ปานกลาง ปานกลาง

แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 2

3 ชั่วโมงที่

1-2

พลเมืองที่เคารพความ

แตกต่าง 2.41 0.47 2.49 0.53 ปานกลาง

3

พลเมืองที่รับผิดชอบต่อ

หน้าที่ 2.47 0.63 2.47 0.57 ปานกลาง

พลเมืองที่มีส่วนร่วมและ

คิดอย่างมีเหตุผล 2.39 0.47 2.32 0.61 ปานกลาง

รวม 2.42 0.48 2.42 0.53

ระดับ ปานกลาง ปานกลาง

4 ชั่วโมงที่

3-4

พลเมืองที่เคารพความ

แตกต่าง 2.48 0.48 2.46 0.58 ปานกลาง

3

พลเมืองที่รับผิดชอบต่อ

หน้าที่ 2.56 0.37 2.59 0.38 มาก

พลเมืองที่มีส่วนร่วมและ

คิดอย่างมีเหตุผล 2.45 0.45 2.47 0.63 ปานกลาง

รวม 2.50 0.38 2.51 0.48

ระดับ มาก มาก

ตารางที่ 12 (ต่อ) แผนการจัดการ

เรียนรู้

ครั้งที่

ประเมิน (สัปดาห์)

ชั่วโมง ผลการประเมิน

ค่าคะแนน เฉลี่ย คุณลักษณะพลเมือง

ประชาธิปไตย

ผู้เรียน ผู้สอน

ระดับ

S.D. S.D.

แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 3

5 ชั่วโมงที่

1-2

พลเมืองที่เคารพความ

แตกต่าง 2.64 0.36 2.61 0.46 มาก

3

พลเมืองที่รับผิดชอบต่อ

หน้าที่ 2.51 0.48 2.74 0.33 มาก

พลเมืองที่มีส่วนร่วมและ

คิดอย่างมีเหตุผล 2.61 0.38 2.53 0.49 มาก

รวม 2.60 0.37 2.62 0.41

ระดับ มาก มาก

6 ชั่วโมง

3-4

พลเมืองที่เคารพความ

แตกต่าง 2.65 0.38 2.69 0.42 มาก

3

พลเมืองที่รับผิดชอบต่อ

หน้าที่ 2.67 0.36 2.64 0.44 มาก

พลเมืองที่มีส่วนร่วมและ

คิดอย่างมีเหตุผล 2.64 0.44 2.64 0.39 มาก

รวม 2.65 0.36 2.65 0.39

ระดับ มาก มาก

แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 4

7 ชั่วโมงที่

1-2

พลเมืองที่เคารพความ

แตกต่าง 2.50 0.64 2.55 0.67 มาก

3

พลเมืองที่รับผิดชอบต่อ

หน้าที่ 2.54 0.65 2.58 0.61 มาก

พลเมืองที่มีส่วนร่วมและ

คิดอย่างมีเหตุผล 2.57 0.62 2.55 0.65 มาก

รวม 2.53 0.62 2.56 0.63

ระดับ มาก มาก

8 ชั่วโมงที่

3-4

พลเมืองที่เคารพความ

แตกต่าง 2.64 0.28 2.59 0.35 มาก

3

พลเมืองที่รับผิดชอบต่อ

หน้าที่ 2.66 0.33 2.71 0.27 มาก

พลเมืองที่มีส่วนร่วมและ

คิดอย่างมีเหตุผล 2.62 0.35 2.55 0.38 มาก

รวม 2.64 0.29 2.61 0.31

ระดับ มาก มาก

จากตารางที่ 12 แสดงถึงระดับพัฒนาการคุณลักษณะของความเป็นพลเมือง ประชาธิปไตยโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน จากแบบประเมินคุณลักษณะความเป็นพลเมือง ประชาธิปไตย พบว่าผู้เรียนมีระดับพัฒนาการคุณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยอยู่ใน ระดับปานกลางไปจนถึงระดับมาก โดยเมื่อพิจารณาระดับของพัฒนาการความเป็นพลเมือง ประชาธิปไตยโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในแต่ละแผนการจัดการรู้ที่มีทั้งหมด 4 แผน ใช้เวลาแผนการ จัดการเรียนรู้ละ 4 ชั่วโมงแบ่งการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ออกเป็นแผนการจัดการเรียนรู้

แผนละ 2 ครั้ง รวมทั้งหมด 8 ครั้ง พบว่าในช่วงของสัปดาห์ที่1-3 ของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การ ประเมินครั้งที่ 1 ผู้เรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.03) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.73) ผู้สอนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 1.74) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.71) อยู่ในระดับปานกลาง การประเมินครั้งที่ 2 ผู้เรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.18) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.67) ผู้สอนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.02) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.59) แผนการจัดการเรียนรู้

ที่ 2 (ชั่วโมงที่ 1-2) การประเมินครั้งที่ 3 ผู้เรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.42 ) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D. = 0.48) ผู้สอนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.42) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. =

0.53) อยู่ในระดับปานกลาง

ในส่วนของสัปดาห์ที่ 4-8 พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 (ชั่วโมงที่3-4) การ ประเมินครั้งที่ 4 ผู้เรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.50) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.38) ผู้สอนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.51) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.48) อยู่ในระดับมาก แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การประเมินครั้งที่ 5 ผู้เรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.60) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.37) ผู้สอนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.62) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.41) อยู่ในระดับมาก การประเมินครั้งที่ 6 ผู้เรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.65) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.36) ผู้สอนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.65) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.39) อยู่ในระดับมาก แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การประเมินครั้งที่ 7 ผู้เรียนมีค่าคะแนน เฉลี่ย (x̅ = 2.53) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.62) ผู้สอนมีค่าคะแนนเฉลี่ย (x̅ = 2.56) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.63) อยู่ในระดับมาก การประเมินครั้งที่ 8 ผู้เรียนมีค่าคะแนน เฉลี่ย (x̅ = 2.64) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.29) ผู้สอนมีค่าคะแนนเฉลี่ย ( x̅ = 2.61) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.31) อยู่ในระดับมาก เมื่อท าการพิจารณาถึง ความสอดคล้องของระดับพัฒนาการคุณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยด้วย

ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สันจากแบบประเมินที่ได้ท าการประเมินจ านวน 8 ครั้ง พบว่าค่าความ สอดคล้องของผู้ตอบแบบประเมินคือผู้สอนและผู้เรียนมีค่าเท่ากับ 0.99

จากผลระดับพัฒนาการของคุณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยโดยใช้

ปัญหาเป็นฐานในตารางข้างต้น ผู้วิจัยสามารถอธิบายถึงระดับพัฒนาการคุณลักษณะความเป็น พลเมืองประชาธิปไตยจากการสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนในชั้นเรียนโดยสรุปแยกออกเป็นรายด้านได้

ดังนี้

2.1 ด้านพลเมืองที่เคารพความแตกต่าง

ด้านพลเมืองที่เคารพความแตกต่าง จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ระดับ พัฒนาการคุณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยด้านพลเมืองที่เคารพความแตกต่างอยู่ใน ระดับปานกลางไปจนถึงระดับมาก จากการสังเกตในระหว่างการด าเนินกิจกรรมในสัปดาห์ที่ 1-3 พบว่าในขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 2 และขั้นที่ 5 ถึงขั้นที่ 6 ของการท ากิจกรรม ผู้เรียนยังไม่สามารถร่วมกัน ท ากิจกรรมกลุ่มระดมความคิดเห็นถึงสิ่งที่ต้องการศึกษาได้ ท าให้การก าหนดหัวข้อถึงสิ่งที่ต้องการ เรียนรู้ไม่เพียงพอต่อการน าไปศึกษาในประเด็นปัญหา นอกจากนี้เมื่อมีการออกมาน าเสนอผลงาน และต้องรับฟังข้อเสนอแนะความคิดเห็นจากเพื่อนต่างกลุ่มในชั้นเรียน ผู้เรียนมีการแสดงออกทาง สีหน้าที่ไม่พอใจต่อความคิดเห็นของผู้อื่นและใช้ค าพูดโต้ตอบกับเพื่อนสมาชิกในชั้นเรียนต่อ ข้อเสนอแนะนั้นด้วยถ้อยค าที่รุนแรง แต่เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 4-8 พบว่า ผู้เรียนร่วมกันลงมือปฏิบัติ

กิจกรรมระดมความคิดเห็นจนได้ประเด็นหัวข้อที่หลากหลายต่อการศึกษาข้อมูลเพิ่มขึ้น และ ผู้เรียนเริ่มยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่นมากขึ้น หลังจากที่ได้ร่วมกันจัดท าผลงานภายใน กลุ่มและออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน นอกจากนี้ตัวผู้เรียนยังแสดงออกทางสีหน้าและ ท่าทางที่สงบในการรับฟังต่อข้อเสนอแนะ เมื่อเพื่อนเสนอแนะเพิ่มเติมต่อผลงานกลุ่มที่ได้น าเสนอ โดยไม่มีการโต้ตอบหรือใช้ถ้อยค าที่รุนแรง จึงเห็นได้ว่าผู้เรียนเริ่มเรียนรู้ที่จะรับฟังต่อข้อคิดเห็นของ บุคคลอื่นที่แตกต่างไปจากตนเองจากการท างานกลุ่มมากขึ้น ส่งผลให้คุณลักษณะความเป็น พลเมืองประชาธิปไตยในด้านนี้ มีระดับพัฒนาการอยู่ในระดับมากในช่วงกลางถึงท้ายสัปดาห์ของ การทดลอง

2.2 ด้านพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่

ด้านพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ผู้เรียนมีระดับพัฒนาการความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยด้านพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่อยู่ในระดับปานกลางไปจนถึงระดับมาก จากการสังเกตในระหว่างการด าเนินกิจกรรมใน สัปดาห์ที่ 1-3 พบว่าในขั้นที่ 3 คือสืบค้นข้อมูล จนถึง ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค าตอบ ในการท า กิจกรรม ผู้เรียนที่ได้รับหน้าที่ในการสืบค้นข้อมูลและจดลงในแบบบันทึกข้อมูลที่ศึกษา ไม่ได้มีการ

สืบค้นข้อมูลตรงตามหัวข้อที่ได้ก าหนดจากการระดมความคิดเห็นร่วมกันในกลุ่ม ท าให้การสรุป ข้อมูลเพื่อน ามาจัดท าผลงานเป็นแผนผังความคิดมีข้อมูลที่ไม่มากพอในขั้นที่ 5 นอกจากนี้พบว่า ผู้เรียนไม่ได้ช่วยเหลือกันในการท างาน เช่น การสรุปข้อมูล การตกแต่งผลงาน ท าให้งานกลุ่ม ตนเองเสร็จช้าเกินกว่าเวลาที่ก าหนดและกระทบต่อระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติกิจกรรมในขั้นตอน ต่อไป แต่เมื่อเข้าสู่ในช่วงสัปดาห์ที่ 4-8 พบว่า ผู้เรียนที่ได้รับหน้าที่จากสมาชิกกลุ่มในการสืบค้น ข้อมูลและจดลงในแบบบันทึกข้อมูลที่ศึกษา เริ่มมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในการท างานมากขึ้น นอกจากนี้ผู้เรียนยังช่วยกันออกแบบและร่วมกันวางแผนในการท าแผนผังความคิด ด้วยการเขียน สรุปข้อมูลพร้อมช่วยกันตกแต่งผลงานจนเสร็จทันในเวลาที่ก าหนด ส่งผลให้คุณลักษณะความเป็น พลเมืองประชาธิปไตยในด้านนี้มีระดับพัฒนาการอยู่ในระดับมากในช่วงกลางถึงท้ายสัปดาห์ของ การทดลอง

2.3 ด้านพลเมืองที่มีส่วนร่วมและคิดอย่างมีเหตุผล

ด้านพลเมืองที่มีส่วนร่วมและคิดอย่างมีเหตุผลจากผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า มีระดับพัฒนาการความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยด้านพลเมืองที่มีส่วนร่วมและคิดอย่างมีเหตุผล อยู่ในระดับปานกลางไปจนถึงระดับมาก จากการสังเกตในระหว่างการด าเนินกิจกรรมในสัปดาห์ที่

1-3 พบว่า กิจกรรมในขั้นที่ 3 และขั้นที่ 4 คือขั้นสืบค้นข้อมูลและขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลได้อย่างถูกต้อง แต่อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ผู้เรียนหามาได้นั้นยังเป็นข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลเพียงแหล่งเดียว ประกอบกับสมาชิกกลุ่มบางคนไม่กล้าที่จะมีส่วนร่วมในการเสนอ ความคิดเห็นหรือเสนอแนะแนวทางต่อการแก้ปัญหา เพราะเกรงว่าเมื่อน าเสนอข้อมูลแล้วจะไม่

ถูกต้อง ท าให้ผู้สอนต้องสนทนาร่วมกับผู้เรียนว่าในการน าเสนอข้อมูลไม่มีข้อมูลใดถูกหรือผิด ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจว่าข้อมูลใดมีความหน้าเชื่อถือมากที่สุด แต่เมื่อเข้าสู่ในช่วงสัปดาห์ที่ 4-8 พบว่าผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลที่ต้องการได้มากกว่าหนึ่งแห่ง นอกจากนี้การ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลร่วมกันภายในกลุ่ม ท าให้ผู้เรียนทุกกลุ่มมีความกล้าแสดงออกต่อการมี

ส่วนร่วมในกิจกรรมที่ต้องเสนอความคิดเห็นหรือเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหามากขึ้นก่อน ตัดสินใจในการน าข้อมูลไปใช้สรุปในการน าเสนอผลงานในขั้นที่ 5 คือขั้นสรุปและประเมินค าตอบ ต่อไป จึงส่งผลให้คุณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยในด้านนี้มีระดับพัฒนาการอยู่ใน ระดับมากในช่วงกลางถึงท้ายสัปดาห์ของการทดลอง