• Tidak ada hasil yang ditemukan

สรุปความสอดคล้องของคุณลักษณะพลเมืองประชาธิปไตย

คุณลักษณะของพลเมืองประชาธิปไตย

คุณลักษณะที่

ผู้วิจัยท าการ สรุป ทิพย์พาพร

ตันติสุนทร (2554)

ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ

(2554)

คณะอนุกรรมการ ปฏิรูปการศึกษาฯ

(2554) ปริญญา เทวานฤมิตรกุล

(2555)

กลุ่มการศึกษา เพื่อสร้างความ เป็นพลเมืองใน

ระบอบ ประชาธิปไตย

(2556)

ส านักงาน เลขาธิการสภา

ผู้แทนราษฎร (2556) ส านักงาน คณะกรรมการการ

เลือกตั้ง (2563)

Westheimer and Kahne (2004)

Deakin University

(2021)

4.เคารพความเสมอ ภาค ความยุติธรรม 6. มีความเข้าใจเรื่อง หลักสิทธิมนุษยชน และยอมรับความ แตกต่างในความเป็น พหุสังคม 9. ยึดหลักสันติวิธีไม่

ใช้ความรุนแรงแก้ไข ปัญหาความขัดแย้ง

2.เคารพความเสมอ ภาค

3.เคารพความ แตกต่าง

1. รักษาความ เป็นธรรมและ ความเสมอภาค 4.มีความเสมอ ภาคและเคารพ ความแตกต่าง

1.เคารพในศักดิ์ศรี

ความเป็นมนุษย์

3. พลเมืองที่มุ่งเน้น ความเป็นธรรมใน สังคม

4. มีมนุษย สัมพันธ์ที่ดี

5.รับรู้ระหว่าง วัฒนธรรม

1. พลเมืองที่

เคารพความ แตกต่าง

3.มีความรักเสรี

ภาพและมีความ รับผิดชอบ 7. เคารพกฎหมาย และยึดหลักนิติรัฐ

1.ความเป็น พลเมืองที่ให้

ความส าคัญกับ วิถีวัฒนธรรม

1.มีความ รับผิดชอบตนเอง และพึ่งพาตนเองได้

4.เคารพสิทธิผู้อื่น 5.เคารพกติกา

2.ให้เสรีภาพด้วย ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 3.ใช้สิทธิแต่ไม่ทิ้ง หน้าที่

5.มีส่วนร่วม ทางการเมือง 6.เคารพกฎ หมายกติกา

2. เคารพสิทธิ

เสรีภาพและกฎกติกา สังคม

3.รับผิดชอบต่อ ตนเอง

1.พลเมืองที่มีความ รับผิดชอบ 2. พลเมืองที่มีส่วน ร่วม

1.มีความรู้

ระเบียบวินัยที่

จ าเป็น

2. พลเมืองที่มี

ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่

1.การเป็นผู้มีความ รู้เข้าใจในสังคมของ ตนสังคมโลกฯ 2. ยึดถือประโยชน์

ส่วนรวมและสังคม เป็นหลัก 5. มีความสามารถ ที่จะคิดวิเคราะห์

อย่างมีเหตุผล 8.มีความรู้ความ เข้าใจต่อการ เปลี่ยนแปลง ทางสังคมและ ทางการเมือง มีส่วน ร่วมทางการเมืองฯ

2.ความเป็น พลเมืองที่ให้

ความส าคัญกับ ชุมชนตน 3. ความเป็น พลเมืองที่ให้

ความส าคัญกับ อิสรภาพและ ความก้าวหน้า ทันสมัย

6.รับผิดชอบสังคม และส่วนรวม

7.คิดอย่างมี

วิจารณญาณ 8. เห็นความ ส าคัญของ ประโยชน์

ส่วนรวม

2. มีความคิด อย่างมี

วิจารณญาณ 3.มีความ สามารถในการ สื่อสาร 6.มีส่วนร่วมใน ระดับชุมชน สังคมและระดับ โลก

3. พลเมืองที่มี

ส่วนร่วมและคิด อย่างมีเหตุผล

สรุปได้ว่าคุณลักษณะของพลเมืองประชาธิปไตยที่ได้ท าการศึกษาจากเอกสารของ นักวิชาการและนักรัฐศาสตร์ทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ ต่างมีการกล่าวสอดคล้องกันใน เรื่องของคุณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยว่า พลเมืองประชาธิปไตยนั้นต้องเป็นผู้มี

คุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่ต้องมีหน้าที่รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม เคารพซึ่งกฎกติกาของ สังคมและความเสมอภาคเท่าเทียมกัน รวมไปถึงมีความรู้ คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณมีความ เข้าใจในระบบสังคมหรือการเมืองการปกครอง ซึ่งคุณลักษณะความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยที่

ได้ท าการสรุปในงานวิจัยครั้งนี้จึงมีคุณลักษณะด้วยกัน 3 ด้าน คือ

1 พลเมืองที่เคารพความแตกต่าง คือ พฤติกรรมที่ปฏิบัติตนเคารพความเท่าเทียม ของความเป็นมนุษย์ ที่ยอมรับความหลากหลายและยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างโดยไม่ใช้ความ รุนแรง ดูถูกเหยียดหยาบ หรือสร้างความเดือดร้อนไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น

2. พลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ คือ พฤติกรรมที่ปฏิบัติตนตามหน้าที่ที่

รับผิดชอบของตนเอง รวมถึงมีวินัยในการปฏิบัติตนตามกฎกติกติกาของสังคม

3. พลเมืองที่มีส่วนร่วมและคิดอย่างมีเหตุผล คือ พฤติกรรมที่แสดงถึงการมีส่วน ร่วมคิดตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่ยึดประโยชน์ส่วนร่วมเป็นส าคัญ และมีความรู้ เข้าใจในการสืบค้น ข้อมูลประเด็นปัญหาที่ไม่เป็นธรรมในสังคม

1.3 ทฤษฎีจิตวิทยาการศึกษาที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียน

เมื่อได้ท าการศึกษาถึงทฤษฎีจิตวิทยาการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา คุณลักษณะของผู้เรียนท าให้ผู้วิจับพบว่ามีหนึ่งทฤษฎี ที่น ามาใช้เพื่อเป็นแนวทางน าไปสู่การสร้าง เครื่องมือวิจัยในการศึกษาถึงระดับพฤติกรรมของการให้เหตุผลในเรื่องของค่านิยมและความส านึก ต่อหน้าที่ในฐานะเป็นสมาชิกหนึ่งของสังคม นั้นคือทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ จารุวรรณ์ ยิ่งยงค์ (2558) ที่น าทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก มาใช้เพื่อท าการศึกษาถึงระดับพฤติกรรมการให้เหตุผลในเรื่องของค่านิยมและความส านึกต่อ หน้าที่ของสังคมที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของผู้เรียนให้เกิดการพัฒนาความเป็นพลเมือง ประชาธิปไตยที่เหมาะสมในแต่ละระดับของช่วงวัย ดังอธิบายได้ต่อไปนี้

ทฤษฎีจิตวิทยาการศึกษาพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก

ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กเป็นทฤษฎีที่เชื่อว่าการเรียนรู้มีผลต่อการ รับรู้บทบาททางสังคมที่มีความสัมพันธ์กันในลักษณะปฎิสัมพันธ์กับพัฒนาการทางจริยธรรมของ ตัวบุคคล บุคคลที่สามารถใช้เหตุผลในระดับจริยธรรมขั้นสูงได้นั้นจะต้องสามารถใช้ตรรกะ ความสามารถในการรับรู้ทางสังคมที่อยู่ระดับสูงก่อน (อ้อมเดือน สดมณี และ ฐาศุกร์ จันประเสริฐ, 2554) นอกจากนี้ในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือการได้เข้ากลุ่มทางสังคมจะท าให้เกิดการเรียนรู้

บทบาทของตนเองและของผู้อื่นที่ช่วยให้การพัฒนาเป็นไปตามขั้นตอนในทิศทางเดียวกัน ไม่ว่า บุคคลนั้นจะอยู่ในกลุ่มใดในสังคม ซึ่งบุคคลในสังคมจะมีระดับทางจริยธรรมที่แบ่งออกเป็น 3 ระดับและในแต่ละระดับจะมีทั้งหมด 2 ขั้น รวมระดับทางจริยธรรมทั้งหมด 6 ขั้นที่แสดงให้เห็นถึง พัฒนาการ การให้เหตุผลทางจริยธรรมตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่ที่แบ่งได้ดังนี้ (Kohlberg, 1975, p. 49)

1. ระดับก่อนเกณฑ์สังคม (Pre-conventional level) เป็นกลุ่มวัยที่ยึดตัวเอง เป็นศูนย์กลาง จริยธรรมระดับนี้จะประกอบด้วย 1) ขั้นการถูกลงโทษและการเชื่อฟัง เป็นขั้นที่เด็ก จะยอมท าตามค าสั่งของผู้มีอ านาจโดยไม่มีเงื่อนไขด้วยการแสดงพฤติกรรมเพื่อไม่ให้ตนเองนั้นถูก ลงโทษเพราะเกิดความกลัว 2) ขั้นกฎเกณฑ์เป็นการใช้เครื่องมือเพื่อตอบสนองความต้องการของ ตนเอง เป็นขั้นที่บุคคลเลือกท าตามความพึงพอใจตนเองโดยแสดงออกพฤติกรรมที่ให้ความส าคัญ ต่อของรางวัลหรือสิ่งตอบแทนเป็นการแลกเปลี่ยน

2. ระดับท าตามกฎเกณฑ์สังคม (Convention level) ในระดับนี้เป็นวัยของ บุคคลที่จะกระท าตามความคาดหวังของบุคคลในครอบครัว หรือกลุ่มคนในสังคมที่ตนเองได้เป็น สมาชิก ได้แก่ 1) ขั้นการคาดหวังและการยอมรับในสังคมเป็นขั้นที่แสดงออกพฤติกรรมเพื่อให้

ได้รับการยอมรับในหมู่คณะและช่วยเหลือผู้อื่นท าให้ผู้อื่นเกิดความพึงพอใจโดยเฉพาะกลุ่มเพื่อน ในระดับนี้จึงไม่ค่อยเป็นตัวของตัวเอง 2) ขั้นยึดกฎระเบียบของสังคม เป็นขั้นที่ท าตามหน้าที่หลัก ของสังคมโดยจะปฏิบัติตามกฎของสังคมอย่างเคร่งครัด ซึ่งพฤติกรรมที่แสดงออกจะแสดงด้วยการ เป็นบุคคลที่รับรู้ถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะเป็นบุคคลหนึ่งในสังคมจึงต้องท าตามกฎเกณฑ์ตามที่

สังคมได้ก าหนด

3. ระดับเหนือกฎเกณฑ์สังคม (Post Convention) เป็นระดับพฤติกรรมที่มี

การคิดอย่างมีเหตุผลหรือมีวิจารณญาณมีการพิจารณาความหมายและหลักการมาตรฐานทาง จริยธรรมก่อนยึดเป็นหลักของพฤติกรรมที่จะปฏิบัติตามประกอบไปด้วย 1) ขั้นของสัญญาสังคม หรือการท าตามสัญญา อยู่ในระดับที่แสดงพฤติกรรมในการท าตามมาตรฐานของสังคม เห็นแก่

ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ตนเอง โดยจะเห็นความส าคัญของคนหมู่มาก 2) ขั้น หลักการคุณธรรมสังคม เป็นขั้นที่แสดงพฤติกรรมที่ยอมท าตามหลักการของสากล โดยยึดมั่นใน ความยุติธรรม คุณธรรมและความถูกต้องที่รับรู้ถึงคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (ส านักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, 2555; สุรางค์ โค้วตระกูล, 2554, น. 68) สามารถแสดงให้เห็น ขั้นพัฒนาการทางจริยธรรมได้ตามรูปภาพพีระมิด 6 ขั้นดังนี้

ภาพประกอบ 4 พีระมิดแสดงถึงระดับพัฒนาการจริยธรรม ของโคลเบิร์ก

ที่มา : ส านักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2555). คู่มือการพัฒนาและส่งเสริม การปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมข้าราชการพลเรือน

เมื่อท าการพิจารณาถึงทฤษฎีระดับพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กที่ได้อธิบาย ถึงจริยธรรมใน ระดับที่ 1 คือ ระดับก่อนเกณฑ์สังคม (pre-conventional) โดยเริ่มที่การเชื่อฟัง และการหลบหลีกการถูกท าโทษ อยู่ระหว่างอายุ 2-10ปี เป็นช่วงของการเริ่มมีเหตุผลและ แสดงออกถึงความพึงพอใจที่จะท าหรือไม่ท าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยยึดถือความคุ้มค่าในการที่จะลงมือ กระท าในสิ่งนั้น และในระดับที่ 2 คือ ระดับกฎเกณฑ์สังคม อยู่ในหลักการที่จะท าตามผู้อื่นให้

ความเห็นชอบและการยอมรับในสังคมตลอดจนอาจเกิดการพัฒนาไปถึงขั้นที่สูงกว่าคือการยึด กฎระเบียบสังคม จะอยู่ในระหว่างอายุ 10-16 ปี เป็นช่วงระดับที่จะเริ่มเรียนรู้ในการท าตาม กฎเกณฑ์ของกลุ่มย่อยตนเอง เริ่มมีความเอาใจเขามาใส่ใจเราและแสดงออกบทบาทในสังคมใน การปฏิบัติตนอยู่ในกฎเกณฑ์ได้อย่างเหมาะสมจึงสามารถน ามาอธิบายถึงการเกิดคุณลักษณะ ความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยในผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษา ซึ่งอยู่ในพัฒนาการที่เกี่ยว เนื่องกันในระดับที่ 1 และระดับที่ 2 ช่วงอายุ 7-12 ปี ได้ว่าเด็กในช่วงวัยนี้เริ่มรับรู้เข้าใจกฎเกณฑ์