• Tidak ada hasil yang ditemukan

แผนภาพแสดงการท างาน

61

62

กระบวนการท างานของเครื่องเริ่มจากการกดปุ่ม Start บนเครื่อง Janome จากนั้น มอเตอร์จะท างานสั่งให้ Rod Actuator ไปอยู่ต าแหน่งที่พร้อมกดซิลิโคนจากนั้น ตัว Driver ก็จะส่ง ค าสั่งให้ตัวมอเตอร์กดซิลิโคนตามระยะกด และเวลาที่ก าหนดไว้

3.5 ออกแบบการทดลอง

ผู้วิจัยได้ออกแบบการทดลองดังนี้

3.5.1 การทดลองที่ 1

เป็นการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์ ของน้ าหนักซิลิโคนและเวลาที่เปลี่ยนซึ่งเป็นระบบการ ท างานของเครื่องแบบเดิมที่ใช้ในโรงงานคือระบบแรงดันอากาศ โดยมีวัสดุและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

1. ใช้เครื่องชั่งน้ าหนักกาว

2. ทดลองซ้ าเพื่อหาค่าเฉลี่ยที่เหมาะสมทั้งหมด 8 รอบ ห่างกันเป็นเวลา 1 ชั่วโมง โดย เก็บ ค่าน้ าหนักรอบละ 10 ครั้ง เป็นอย่างน้อย

3. หาความสัมพันธ์ระหว่างน้ าหนักกาวกับเวลา โดยใช้หลักการทางสถิติที่เหมาะสม ใน เบื้องต้นจะใช้ค่า R2

3.5.2 การทดลองที่ 2

เป็นการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์ ของน้ าหนักซิลิโคนและเวลาที่เปลี่ยนไปซึ่งเป็นระบบ การท างานของเครื่องแบบใหม่ที่ผู้วิจัยได้ศึกษาและออกแบบโดยใช้ Motor เข้ามาใช้ในการกดซิลิโคน แทนการใช้แรงดันอากาศแบบระบบเดิม มีวัสดุและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องดังนี้

1. ใช้เครื่องชั่งน้ าหนักกาว

2. ทดลองซ้ าเพื่อหาค่าเฉลี่ยที่เหมาะสมทั้งหมด 8 รอบ ห่างกันเป็นเวลา 1 ชั่วโมง โดย เก็บ ค่าน้ าหนักรอบละ 10 ครั้ง เป็นอย่างน้อย

3. หาความสัมพันธ์ระหว่างน้ าหนักกาวกับเวลา โดยใช้หลักการทางสถิติที่เหมาะสม ใน เบื้องต้นจะใช้ค่า R2

3.5.3 หาความสัมพันธ์ผลการทดลอง

เปรียบเทียบหาความสัมพันธ์ขระหว่างน้ าหนักซิลิโคนและเวลา การทดลองที่ 1 กับการ ทดลอง ที่ 2 โดยใช้ Regression Line จากนั้นวิเคราะห์ว่าทั้ง 2 ระบบ มีแนวโน้มของน้ าหนักกาวไป ในทิศทางไหน

บทที่ 4 ผลการด าเนินงานวิจัย

ในบทที่ 4 นี้ จะแสดงผลการด าเนินงานวิจัยโดยการใช้เทคนิคการออกแบบและการ วิเคราะห์การทดลอง (Design and Analysis of Experiment, DOE) เพื่อหาปัจจัยหลักใน กระบวนการผลิตที่ส่งผลต่อค่าของน้ าหนักซิลิโคนที่ถูกหลอดลงไปในการประกอบชิ้นส่วนโทรศัพท์

เพื่อลดปัญหาเรื่องน้ าหนักกาวที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท างานของโทรศัพท์ ในบทนี้จะแสดง ผลลัพธ์ที่ได้จากการด าเนินการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการออกแบบการทดลองโดยประกอบไปด้วยการ เปรียบเทียบข้อมูลทดลองการท างาน 2 ระบบ คือ ระบบใช้แรงดันอากาศ (Air Presser) ที่ใช้ใน โรงงาน และระบบที่ใช้มอเตอร์ในการกด (Motor) ที่ได้ออกแบบขึ้นมาใหม่ เพื่อแก้ไปปัญหาเรื่อง น้ าหนักกาวไม่ได้มาตฐานตามที่ก าหนดคือ 30±5 mg ซึ่งรายละเอียดการด าเนินงานมีดังต่อไปนี้

4.1 ผลการทดลองการควบคุมการท างานของมอเตอร์เพื่อให้ปริมาตรกาวซิลิโคนคงที่

เพื่อตอบวัตถุประสงค์ผู้วิจัยได้ท าการเก็บข้อมูลระบบเดิม และระบบใหม่ที่ได้ออกแบบขึ้น แต่เนื่องจากผู้วิจัยไม่มีเครื่องมือวัดปริมาตรจึงเก็บข้อมูลในรูปแบบน้ าหนักแล้วใช้สมการ 4.1 ดังนี้

V = 1

𝜌𝑚 ……… สมการ 4.1

เมื่อ v คือ ปริมาตรรวมของวัตถุ

m คือ มวลรวมของวัตถุ

𝜌 คือ ความหนาแน่นของวัตถุ

แต่เนื่องจากอุณหภูมิในโรงงานคงที่ท าให้ 𝜌 มีค่าเปลี่ยนแปลงน้อยมาก จะได้ว่า ปริมาตร (V) มีค่าแปรผันตรงกับมวลของวัตถุ (m) ดังนั้น การวิเคราะห์จึงสามารถใช้น้ าหนักแทนปริมาตรได้ ซึ่ง ได้ข้อมูลการทดลองดังต่อไปนี

ขั้นตอนศึกษาการเปลี่ยนแปลงของน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต ได้มีการก าหนดการเก็บค่า น้ าหนักของซิลิโคนในไลน์การผลิตติดต่อกันเป็นเวลา 3 วัน ในทุก ๆ 1 ชั่วโมง ซึ่งผลการเก็บการ ทดลองเป็นดังตาราง 4.1.1.1-4.1.1.3 ต่อไปนี้

4.1.1.1 ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เป็นตามข้อมูลการทดลองตามตารางที่ 4.1 และได้กราฟตามภาพประกอบ 4.1 กราฟ แสดงแนวโน้มน้ าหนักซิลิโคนเทียบกับเวลาดังต่อไปนี้

ตาราง 4.1 ข้อมูลน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561