• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง A และ B เทียบกับเวลา

90

91

จากภาพประกอบ และ ภาพประกอบ จะได้สมการความสัมพันธ์ระหว่างค่า A และ B กับเวลา ดังนี้

A = -0.4138t+13.339 ……….4.3

และ B = 21.258t-15.813 ……….4.4 แทนค่าสมการ (4.3) กับ (4.4) ในสมการ (4.5) จะได้

W=-0.4138Xt+13.339X+21.258t-15.813……….4.5 โดยที่ W = น้ าหนักกาว (mg)

X = ระยะกด (mm.) t = เวลา (วินาที)

ซึ่งสมการนี้จะน าไปใช้ในการแปลงค่าน้ าหนักกาวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระยะกดและ เวลา ภายในระบบควบคุมได้ผลต่อไป

ตาราง 4.19 แสดงค่าน้ าหนักกาวซิลิโคนจากการแทนค่าสมการ

จากตารางแสดงค่าน้ าหนักกาวซิลิโคนที่แทนค่าสมการ เมื่อน ามาเปรียบเทียบกับน้ าหนัก ที่ได้จากการทดลองแสดงดังตาราง 4.20 ต่อไปนี้

t (s) t (s) t (s) t (s) t (s) t (s) W1(mg) W2(mg) W3(mg) W4(mg) W5(mg)

1 2 3 4 5 6 18.4 39.2 60.1 80.9 101.7

1 2 3 4 5 6 21.6 42.3 63.1 83.8 104.6

1 2 3 4 5 6 24.8 45.5 66.1 86.7 107.4

1 2 3 4 5 6 28.1 48.6 69.1 89.7 110.2

1 2 3 4 5 6 31.3 51.7 72.2 92.6 113.0

1 2 3 4 5 6 34.5 54.9 75.2 95.5 115.8

1 2 3 4 5 6 37.8 58.0 78.2 98.4 118.7

1 2 3 4 5 6 41.0 61.1 81.2 101.3 121.5

1 2 3 4 5 6 44.2 64.2 84.3 104.3 124.3

1 2 3 4 5 6 47.5 67.4 87.3 107.2 127.1

1 2 3 4 5 6 50.7 70.5 90.3 110.1 129.9

1 2 3 4 5 6 53.9 73.6 93.3 113.0 132.7

1 2 3 4 5 6 57.1 76.7 96.4 116.0 135.6

2

W=-0.4138Xt+13.339X+21.258t-15.813 ระยะกด

(mm.)

น ้าหนักที่พิสูจน์จากสมการ 1

1.25 1.5 1.75 2.25

4 3.75

3.5 3.25 3 2.75

2.5

92

ตาราง 4.20 แสดงค่าเปรียบเทียบน้ าหนักกาวซิลิโคนจากการแทนค่าสมการและน้ าหนักซิลิโคนจาก การทดลอง

จากตาราง 4.20 สรุปได้ว่าค่าน้ าหนักกาวที่ได้จากการค านวณกับค่าที่ได้จากการวัดมีความ ใกล้เคียงกัน โดยค่าผลต่างของน้ าหนักกาวน้อยที่สุดคือ 0.1 mg คือน้ าหนักกาวที่ได้จากระยะกด 4 mm. ที่เวลา 1 วินาที และค่าผลต่างของน้ าหนักกาวมากที่สุดคือ 10 mg คือน้ าหนักกาวที่ได้จาก ระยะกด 4 mm. ที่เวลา 4 วินาที

W1 W2 W3 W4 W5 W1 W2 W3 W4 W5 W1 W2 W3 W4 W5

1 18.4 39.2 60.1 80.9 101.7 17.3 30.7 64.0 87.7 94.3 1.0 8.5 3.9 6.8 7.4

1.25 21.6 42.3 63.1 83.8 104.6 23.7 34.0 69.0 92.3 97.3 2.1 8.3 5.9 8.5 7.2 1.5 24.8 45.5 66.1 86.7 107.4 27.0 37.7 72.3 94.7 101.3 2.2 7.8 6.2 7.9 6.0 1.75 28.1 48.6 69.1 89.7 110.2 30.3 43.0 74.3 96.7 106.0 2.3 5.6 5.2 7.0 4.2 2 31.3 51.7 72.2 92.6 113.0 32.0 45.0 76.0 98.7 108.7 0.7 6.7 3.8 6.1 4.4 2.25 34.5 54.9 75.2 95.5 115.8 33.3 48.0 78.3 101.7 112.3 1.2 6.9 3.2 6.2 3.5 2.5 37.8 58.0 78.2 98.4 118.7 41.0 52.7 80.7 103.7 117.0 3.2 5.3 2.5 5.2 1.7 2.75 41.0 61.1 81.2 101.3 121.5 46.0 56.0 83.0 106.3 116.0 5.0 5.1 1.8 5.0 5.5 3 44.2 64.2 84.3 104.3 124.3 47.3 58.3 85.0 108.0 121.3 3.1 5.9 0.7 3.7 3.0 3.25 47.5 67.4 87.3 107.2 127.1 51.7 62.7 86.3 110.7 123.7 4.2 4.7 0.9 3.5 3.4 3.5 50.7 70.5 90.3 110.1 129.9 54.0 64.3 89.0 115.7 127.0 3.3 6.2 1.3 5.6 2.9 3.75 53.9 73.6 93.3 113.0 132.7 56.0 69.3 91.3 121.7 128.7 2.1 4.3 2.0 8.6 4.1 4 57.1 76.7 96.4 116.0 135.6 57.0 72.3 93.3 126.0 132.7 0.1 4.4 3.0 10.0 2.9 ระยะกด

(mm.)

ผลต่างน ้าหนัก (mg) น ้าหนักที่วัดได้จากการทดลอง (mg)

น ้าหนักได้จากแทนค่าสมการ (mg)

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

จากขั้นตอนต่าง ๆ ของการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ในโรงงานจากนั้นน ามาออกแบบเครื่องเพื่อท า การทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง โดยวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อน้ าหนักการกดซิลิโคนบนชิ้นส่วน ในกระบวนการประกอบโทรศัพท์ จนท าให้สามารถออกแบบการทดลองหาระยะการกดกาวที่

เหมาะสม และยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายของโรงงาน ซึ่งสามารถสรุปได้ดั่งนี้

94 5.3 ข้อเสนอแนะการวิจัย

1. การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเฉพาะกระบวนการกดซิลิโคนในไลน์การผลิต และ เครื่องที่ผู้วิจัยได้ออกแบบการทดลองขึ้น เท่านั้น เนื่องจากเป็นกระบวนการผลิตที่ต้องอาศัยอัตราการ ไหลของซิลิโคน จึงควรมีการศึกษาที่หน่วยการผลิตอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนผลการทดลองที่ดีขึ้น

2. เนื่องจากมอเตอร์ที่ผู้วิจัยได้ใช้ออกแบบชุดการทดลอง ถูกจ ากัดให้เลือกใช้ตามทรัพยากร ที่มีอยู่ในโรงงานจึงยังมีขนาด และประสิทธิภาพที่ยังไม่เหมาะสมที่สุด ผู้น าไปศึกษาต่อควรเลือกใช้

มอเตอร์ที่มีคุณสมบัติที่ทนทานต่อการใช้งาน อย่างเช่น ควรมีขนาดมอเตอร์ที่ใหญ่ขึ้น และควรเป็น ระบบฟันเฟือง เนื่องจากมอเตอร์ที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้เป็นแบบสายพานขับเคลื่อน เมื่อมอเตอร์

ร้อน จึงส่งผลให้สายพานล้า

3. หากมีการพิจารณาผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาจากการออกแบบการทดลองมีผลท าให้

สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในไลน์การผลิตได้ ดังนั้นจึงควรมีการน าหลักการการออกแบบการทดลอง ในครั้งนี้ไปใช้เพื่อแก้ปัญหาในกระบวนการผลิตในต่อไป

4. Transfer Function ที่ได้ในการวิจัยนี้เป็นแบบประมาณค่าเท่านั้น หากต้องการให้มีค่า ความผิดพลาดน้อยอาจจ าเป็นต้องเก็บข้อมูลเพิ่ม หรือพิจารณาใช้การควบคุมแบบปิด (Closed Loop Control)

บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

[1] วิชาญ กลิ่นเพ็ง, “การศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมในการผลิตเพื่อปรับปรุงคุณภาพความโปร่งใสของ ซิลิโคนเหลวกรณีศึกษา โรงงานผลิตซิลิโคน” สารนิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตมหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2555

[2] https://www.chemipan.com. 28 มิถุนายน 2561 [3] http://trendypangzon.blogspot.com. 21 มีนาคม 2561 [4] http://www.phitsanuchemicals.com. 2 ธันวาคม 2560

[5] ธีรพงษ์ ขันทอง. “การปรับปรุงคุณภาพการผลิตโดยใช้เทคนิคการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร และ ลีน: กรณีศึกษากระบวนการหยอดกาว RTV.”

[6] วิทยา สุมะลิ. “การลดของเสียในกระบวนการประกอบชิ้นส่วนหน้าจอโทรศัพท์มือถือโดยเทคนิค การออกแบบการทดลอง.” Diss. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะ วิศวกรรมศาสตร์.

สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ.

[7] อภิชาต สถิตย์ธรรม. “การปรับปรุงคุณภาพในการผลิตตามแนวความคิดของซิกซ์ซิกม่า: กรณี

ศึกษาบริษัทชิ้นส่วนฮาร์ดดิสก์ โดยหลักการ DMAIC.”

[8] Llewellyn A Hautau, “Adhesive dispensing machine”,14 สิงหาคม 2561 [9] https://www.youtube.com/watch?v=0u5IGayh0BM. 17 กรกฎาคม 2561 [10] https://www.alibaba.com/showroom/silicone-dispensing-machine.html. 11

กรกฎาคม 2561. 8 สิงหาคม 2561

[11] บุญเรือง วังศิลาบัตร, and ธวัชชัย จิตต์สนธิ์. “การควบคุมต าแหน่งเซอร์โวมอเตอร์ไฟตรงด้วย ความกว้างของพัลส์อย่างง่าย.” วารสารวิชาการปทุมวัน, 2.3 (2012): 60-67.

[12] รพีพงษ์ อินทุโสมา, ตรีรัตน เมตต์การุณ์จิต, and อนุเทพ โอเว็น. “การใช้ฟัซซีลอจิกในการ ควบคุมลูกตุ้มนาฬิกาหัวกลับโดยใช้ดีซีเซอร์โวมอเตอร์.” (2013).

[13] พีรพงศ์ เรืองเสถียรทนต์, ลัดดาวัลย์ แทนคุณ, วรัญญู เข็มจินดา, “ชุดทดลองส าหรับการสอน พื้นฐานระบบขับเคลื่อนเซอร์โวมอเตอร์”, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ, 2548 [14] พงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ, อติกร เสรีพัฒนานนท์, and ธนากร น้ าหอมจันทร์. “ชุดทดสอบการกระจาย

แสงควบคุมด้วยสเต็ปปิ้งมอเตอร์.” EAU Heritage Journal Science and Technology, 6.2(2012): 110-116.

97 [15] อดิศักดิ์ ร่มพุฒตาล, “การพัฒนาและการประยุกต์ ใช้ระบบดาต้าแอกควิซิชั่นต้นทุนต่ าด้วย

LabVIEW (DEVELOPMENT AND APPLICATION OF A LOWCOST DATA

ACQUISITION SYSTEM WITH LABVIEW). Srinakharinwirot University (Journal of Science and Technology), 7.14 (2015.): 75-86.

[16] สถาพร เสือเทศ, et al. “การศึกษาเครื่องพ่นสีแบบเคลื่อนที่ด้วยล้อในแนวแกนนอนเพื่อ ออกแบบลวดลายบนพื้นผนังโดยการควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์.” (2016).

[17]-[18] วิชาญ กลิ่นเพ็ง, “การศึกษาปัจจัยที่เหมาสมในการผลิตเพื่อปรับปรุงคุณภาพความโปร่งใส ของซิลิโคนเหลวกรณีศึกษาโรงงานผลิตซิลิโคน” สารนิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2555

[19] http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_tx_3_003c.asp?info_id=118,13 พฤศจิกายน 2561

[20] https://www.indiamart.com/jainsonssafetyindustries/aboutus.html,13 พฤศจิกายน 2561

[21] https://1.bp.blogspot.com/-W-AU6B6TitI/VrX_FU_8Y8I/AAAAAAAAAXc/

lkb50I5s0RY/s320/1.pnmg2 มีนาคม 2561

[22] https://1.bp.blogspot.com/-aVduEw9utf0/VrX_FNCl1-

I/AAAAAAAAAXY/RQ5anpRwNic/s400/2.gif. 2 มีนาคม 2561

[23] https://4.bp.blogspot.com/-3-dQaPXVjXk/VrX_FNh38jI/AAAAAAAAAXU/

nkbnou9NFU8/s320/3.gif. 2 มีนาคม 2561

[24] https://3.bp.blogspot.com/-RJ1MisTr-hA/VrX_Fwo5pJI/AAAAAAAAAXg/

Kj_jqEWsK1s/s320/4.jpmg 15 มีนาคม 2561

[25] https://2.bp.blogspot.com/-NhhGoE2Bck8/VrX_GBtBG5I/AAAAAAAAAXo/j5w4 ARetf54/s1600/5.2.gif. 15 มีนาคม 2561

[26]-[27] ps://3.bp.blogspot.com/-grTsKwVNhJw/VrX_GTHs27I/AAAAAAAAAXs/b ZhboqqkiQc/s400/6.gif. 15 มีนาคม 2561

[28] https://3.bp.blogspot.com/-pBVO3JnDlog/VrX_Gv633LI/AAAAAAAAAX0/3tQgmb 7iNuQ/s320/8.jpmg 9 มีนาคม 2561

[29] https://2.bp.blogspot.com/-7ZsHo2oOJv8/VrX_HDEn5cI/AAAAAAAAAX4/

usmOm2gkjj8/s400/9.jpmg 3 มีนาคม 2561

[30]-[34] https://www.inventor.in.th/home/wp-content/uploads/2013/

11/stepper003.jpmg 3 มีนาคม 2561

98 [35] http://www.inventor.in.th/home/wp-content/uploads/2013/11/stepper007.jpmg,3

มีนาคม 2561

[36] http://www.inventor.in.th/home/wp-content/uploads/2013/11/stepper008.jpmg,3 มีนาคม 2561

[37] http://www.9ddn.com/picture/doucment/files/f137c3041eca7491.jpmg,19 มีนาคม 2561

[38] http://www.9ddn.com/picture/doucment/files/c14ac8854e8a9921.jpmg,19 มีนาคม 2561

[39] http://www.9ddn.com/picture/doucment/files/bc889500fd56198b.jpmg,19 มีนาคม 2561

[40] http://www.9ddn.com/picture/doucment/files/86384e47b631783b.jpmg,19 มีนาคม 2561

[41]-[64] สุชาติ จันทร์จรมานิตย์. (2561). ระบบควบคุม. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

[65]-[78] ทันพงษ์ ภู่รักษ์, “ความรู้เกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น”, วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี, 2559

[79] https://static.panoramio.com.storage.googleapis.com/photos/medium/

17361672.jpg. 23 มีนาคม 2561

[80] https://media.rs-online.com/t_large/R8444067-01.jpg. 23 มีนาคม 2561 [81] http://www.smcperu.com/wp-content/uploads/2014/11/img_actuator-

300x238.jpg.,23 มีนาคม 2561

[82] https://static1.squarespace.com/static/59300d0315cf7daeb298d498/594bf5be 2cba5e5e2be77ea4/59553d56a5790a8cb4e1963d/1502077723323/J-CAT- SCD.jpmg,2 เมษายน 2561

[83] https://media.rs-online.com/t_large/F0458783-01.jpg.,2 เมษายน 2561,5 เมษายน 2561

99

ภาคผนวก

100

101

102

103

104

105

106

107

108

109

110

111

112

113

114

115

116

117

118

119

120

121

122

123

124

125

126

127

128

129

130

131

132

133

134

135

136

137

138

139

140

ประวัติผู้เขียน

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ นางสาวชฎาพร วงษ์ศรี

วันเกิด วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2537 สถานที่เกิด อ าเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี

สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 125 หมู่ 2 บ้านโคกผักหอม ต าบลอูบมุง อ าเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี รหัสไปรษณีย์ 41220 ต าแหน่งหน้าที่การงาน Mentor Staff

สถานที่ท างานปัจจุบัน บริษัท Sony Technology (Thailand) Co., Ltd.

เลขที่ 140 ซอย สวนอุตสาหกรรมบางกะดี ต าบลบางกะดี อ าเภอเมือง ปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย์ 12000

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2556 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนหนองวัวซอพิทยาคม อ าเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี

พ.ศ. 2560 ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2562 ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.)

สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทุนวิจัย ทุนการศึกษาจากโครงการ WIL (Work-integrated Learning) โดย

ส านักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ

ภาคอุตสาหกรรม ได้แก่ บริษัท Sony Technology (Thailand) Co., Ltd.