• Tidak ada hasil yang ditemukan

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต

4.1 ผลการทดลองการควบคุมการท างานของมอเตอร์เพื่อให้ปริมาตรกาวซิลิโคนคงที่

4.1.1 ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต

ขั้นตอนศึกษาการเปลี่ยนแปลงของน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต ได้มีการก าหนดการเก็บค่า น้ าหนักของซิลิโคนในไลน์การผลิตติดต่อกันเป็นเวลา 3 วัน ในทุก ๆ 1 ชั่วโมง ซึ่งผลการเก็บการ ทดลองเป็นดังตาราง 4.1.1.1-4.1.1.3 ต่อไปนี้

4.1.1.1 ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เป็นตามข้อมูลการทดลองตามตารางที่ 4.1 และได้กราฟตามภาพประกอบ 4.1 กราฟ แสดงแนวโน้มน้ าหนักซิลิโคนเทียบกับเวลาดังต่อไปนี้

ตาราง 4.1 ข้อมูลน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561

ภาพประกอบ 4.1 กราฟแสดงแนวโน้มน้ าหนักซิลิโคนเทียบกับเวลา

W1 W2 W3 W4 W5 W6 W7 W8 W9 W10 Average 08:00 น. 34.0 34.0 32.0 34.0 36.0 34.0 33.0 34.0 33.0 33.0 33.7 09:00 น 34.0 32.0 31.0 33.0 33.0 32.0 31.0 30.0 31.0 30.0 31.7 10:00 น. 29.0 32.0 33.0 32.0 33.0 31.0 32.0 31.0 32.0 31.0 31.6 11:00 น. 30.0 29.0 31.0 32.0 30.0 31.0 29.0 30.0 31.0 32.0 30.5 13:00 น. 28.0 31.0 34.0 31.0 30.0 29.0 28.0 29.0 31.0 32.0 30.3 14:00 น. 32.0 29.0 29.0 26.0 27.0 31.0 27.0 28.0 30.0 28.0 28.7 15:00 น. 31.0 29.0 31.0 28.0 30.0 29.0 28.0 29.0 30.0 28.0 29.3 16:00 น. 32.0 28.0 30.0 27.0 31.0 27.0 28.0 26.0 29.0 28.0 28.6 17:00 น. 31.0 26.0 33.0 34.0 27.0 27.0 26.0 25.0 28.0 28.0 28.5 วันที่/เวลา

17/10/2561

น ้าหนักซิลิโคน (mg)

Air Presser

0.234 MPa

65

จากตาราง 4.1 แสดงผลการทดลองการกดซิลิโคนในไลน์ผลิตโดยใช้ระบบแรงดันอากาศ พบว่าที่แรงดันอากาศ 0.234 MPa เวลา 08:00 น. น้ าหนักซิลิโคนค่าเฉลี่ยของน้ าหนักสูงถึง 33.7 mg เมื่อเวลาผ่านไปจนถึงเวลา 17:00 น. น้ าหนักเฉลี่ยของซิลิโคนค่อย ๆ ลดลงมาเหลือ 28.5 mg ในขณะที่ยังใช้แรงดันอากาศ ที่ 0.234 MPa เป็นสาเหตุมาจากความหนืดของซิลิโคนเพิ่มขึ้นเมื่ออยู่ใน สภาพอุณหภูมิห้อง และสามารถแสดงข้อมูลได้ตามภาพประกอบ 4.1 กราฟแสดงแนวโน้มน้ าหนัก ซิลิโคนเทียบกับเวลา

4.1.1.2 ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เป็นตามข้อมูลการทดลองตามตารางที่ 4.2 และได้กราฟตามภาพประกอบ 4.2 กราฟ แสดงแนวโน้มน้ าหนักซิลิโคนเทียบกับเวลา ดังต่อไปนี้

ตาราง 4.2 ข้อมูลน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2561

W1 W2 W3 W4 W5 W6 W7 W8 W9 W10 Average 08:00 น. 31.0 31.0 32.0 32.0 33.0 30.0 32.0 29.0 31.0 32.0 31.3 09:00 น 29.0 29.0 31.0 30.0 27.0 30.0 28.0 27.0 29.0 28.0 28.8 10:00 น. 26.0 27.0 26.0 28.0 28.0 27.0 25.0 28.0 27.0 29.0 27.1 11:00 น. 25.0 25.0 26.0 27.0 27.0 24.0 26.0 27.0 25.0 26.0 25.8 13:00 น. 35.0 28.0 27.0 26.0 26.0 26.0 25.0 28.0 24.0 22.0 26.7 14:00 น. 32.0 24.0 23.0 22.0 24.0 25.0 24.0 22.0 28.0 25.0 24.9 15:00 น. 27.0 28.0 28.0 29.0 27.0 31.0 29.0 27.0 26.0 28.0 28.0 16:00 น. 27.0 22.0 29.0 25.0 25.0 29.0 27.0 30.0 25.0 29.0 26.8 17:00 น. 26.0 25.0 32.0 27.0 29.0 26.0 26.0 27.0 25.0 21.0 26.4 วันที่/เวลา

18/10/2561

น ้าหนักซิลิโคน (mg)

Air Presser

0.226 MPa

0.276 MPa

66

ภาพประกอบ 4.2 กราฟแสดงแนวโน้มน้ าหนักซิลิโคนเทียบกับเวลา

จากตาราง 4.2 แสดงผลการทดลองการกดซิลิโคนในไลน์ผลิตโดยใช้ระบบแรงดันอากาศ พบว่าที่แรงดันอากาศ 0.226 MPa เวลา 08:00 น. น้ าหนักซิลิโคนมีค่าเฉลี่ยของน้ าหนักสูงถึง 31.3 mg พอเวลาผ่านไปจนถึงเวลา 14:00 น. น้ าหนักเฉลี่ยของซิลิโคนค่อย ๆ ลดลงมาเหลือ 24.9 mg ในขณะที่ยังใช้แรงดันอากาศ 0.226 MPa ซึ่งน้ าหนักซิลิโคนต่ ากว่ามาตฐานที่ก าหนด เนื่องจากมีลม เข้าไปในกระหลอดกาว (Air Bubble) ดังภาพประกอบ 4.3 จากนั้นได้เปลี่ยนซิลิโคนหลอดใหม่และ ปรับแรงดันอากาศเป็น 0.276 MPa และท าการเก็บผลการทดลองเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ น้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต ซึ่งสามารถแสดงข้อมูลได้ตามภาพประกอบ 4.2 กราฟแสดงแนวโน้ม น้ าหนักซิลิโคนเทียบกับเวลา

ภาพประกอบ 4.3 ภาพถ่ายแสดงหลอดซิลิโคนที่มีลมแทรกเข้าหลอด

4.1.1.3 ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เป็นตามข้อมูลการทดลองตามตารางที่ 4.3 และได้กราฟตามภาพประกอบ 4.4 กราฟ แสดงแนวโน้มน้ าหนักซิลิโคนเทียบกับเวลาดังต่อไปนี้

67

ตาราง 4.3 ข้อมูลน้ าหนักซิลิโคนในไลน์ผลิต วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2561

ภาพประกอบ 4.4 กราฟแสดงแนวโน้มน้ าหนักซิลิโคนเทียบกับเวลา

จากตาราง 4.3 แสดงผลการทดลองการกดซิลิโคนในไลน์ผลิตโดยใช้ระบบแรงดันอากาศ พบว่าที่แรงดันอากาศ 0.230 MPa เวลา 08:00 น. น้ าหนักซิลิโคนค่าเฉลี่ยของน้ าหนักสูงถึง 31.0 mg เมื่อเวลาผ่านไปจนถึงเวลา 15:00 น. น้ าหนักเฉลี่ยของซิลิโคนค่อย ๆ ลดลงมาเหลือ 24.6 mg ในขณะที่ยังใช้แรงดันอากาศ ที่ 0.230 MPa ซึงน้ าหนักซิลิโคนต่ ากว่ามาตฐานที่ก าหนด เป็นผลมา จากมีลมเข้าไปในกระหลอดกาว แต่เนื่องจากมีงานที่จะเข้ามาประกอบจ านวนน้อยจึงเพิ่มแรงดัน อากาศของเครื่องเป็น 0.268 MPa และให้พนักงานประกอบงานต่อ ซึ่งสามารถแสดงข้อมูลได้ตาม ภาพประกอบ 4.4 กราฟแสดงแนวโน้มน ำหนักซิลิโคนเทียบกับเวลา

W1 W2 W3 W4 W5 W6 W7 W8 W9 W10 Average 08:00 น. 31.0 33.0 31.0 30.0 29.0 31.0 29.0 31.0 32.0 33.0 31.0 09:00 น 32.0 30.0 29.0 29.0 28.0 30.0 32.0 32.0 31.0 29.0 30.2 10:00 น. 30.0 29.0 32.0 28.0 31.0 32.0 29.0 31.0 29.0 28.0 29.9 11:00 น. 27.0 29.0 29.0 28.0 27.0 29.0 28.0 31.0 29.0 28.0 28.5 13:00 น. 28.0 29.0 31.0 29.0 28.0 29.0 27.0 28.0 29.0 28.0 28.6 14:00 น. 26.0 25.0 26.0 24.0 27.0 24.0 26.0 25.0 26.0 25.0 25.4 15:00 น. 24.0 28.0 26.0 24.0 24.0 26.0 25.0 22.0 24.0 23.0 24.6 16:00 น. 27.0 28.0 26.0 27.0 28.0 27.0 28.0 29.0 27.0 28.0 27.5 17:00 น. 28.0 27.0 29.0 26.0 29.0 28.0 26.0 25.0 27.0 28.0 27.3

0.230 MPa

0.268 MPa วันที่/เวลา

19/10/2561

น ้าหนักซิลิโคน (mg)

Air Presser

68